งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ของกรุงเทพมหานคร สำนักสิ่งแวดล้อม

2 ประเภทมูลฝอยในสถานบริการการสาธารณสุข มูลฝอยของสถานบริการการสาธารณสุข
มูลฝอยทั่วไป ของเสียอันตราย มูลฝอย ทั่วไป มูลฝอย รีไซเคิล มูลฝอยย่อยสลายได้ มูลฝอย ติดเชื้อ มูลฝอยอันตราย บ้านเรือน มูลฝอย กัมมันตรังสี มูลฝอย เคมีบำบัด มูลฝอยติดเชื้อ ของมีคม มูลฝอยติดเชื้อ ไม่มีคม

3 จำนวนสถานบริการที่ให้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2554
จำนวนสถานบริการที่ให้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2554 ลำดับ ประเภทของสถานบริการ จำนวนราย (แห่ง) ปริมาณมูลฝอย (กก./เดือน) 1 โรงพยาบาลของรัฐ 28 350,900 2 โรงพยาบาลเอกชน 112 323,599 3 คลินิก 1,774 52,711 4 รพ./ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. 160 88,321 5 อื่น ๆ (ห้องปฏิบัติการ/บริษัทฯ) 115 48,469 รวม 2,073 839,370 รวม 2,073 839,370

4 ปริมาณขยะติดเชื้อที่จัดเก็บและกำจัด ปีงบประมาณ 2545 - 2554

5 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของ กทม.
ปัจจุบันเผาในเตาเผา ในอนาคตอาจจะพิจารณาใช้วิธีอื่นๆ วิธีทำลายเชื้อด้วยไอน้ำ หรือวิธีอื่นตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ในราชกิจจานุเบกษา

6 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของกรุงเทพมหานคร
ปล่องระบายอากาศสูง 21 เมตร

7 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของกรุงเทพมหานคร
การจัดเก็บ - บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด การกำจัด - เผาที่อุณหภูมิ 1,000-1,200 oC - 15 ตัน/เตาเผา/วัน ( จำนวน 2 เตาเผา)

8 การเตรียมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อช่วงอุทกภัย
ด้านการเก็บขน เตรียมรถเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อขนาดใหญ่ สามารถลุยฝ่าน้ำท่วมความสูงเกิน 1 เมตร กรณีน้ำท่วมสูงเกิน 1.3 ม. รถไม่สามารถเข้าเก็บได้ เตรียมน้ำยาฆ่าเชื้อ ถังบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ ให้สถานบริการการ สาธารสุข กรณีน้ำท่วมสูง 1.5 ม. ขึ้นไป ใช้เรือเข้าไปจัดเก็บในสถานบริการการสาธารสุข กรณีน้ำท่วมทางเข้าโรงงาน และรถไม่สามารถสัญจรได้ จะใช้รถโหลดเดอร์ลากรถเก็บขนมูลฝอยเข้ามาในบริเวณโรงงาน

9 การเตรียมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อช่วงอุทกภัย
ด้านการกำจัด ก่อสร้างพนังกั้นน้ำ ความสูงโดยรอบ 2 ม.ทั้ง 4 ด้าน จัดเตรียมเครื่องสูบน้ำ 2 เครื่อง จัดเตรียมเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 150 กิโลวัตต์ 1 เครื่อง สำรองเชื้อเพลิงในการเผา (LPG) 12,000 กก. สามารถใช้ได้นาน 2 สัปดาห์ จัดเตรียมชุดเฝ้าระวัง 24 ชม.

10 การจัดเก็บมูลฝอยติดเชื้อในภาวะอุทกภัย

11 การจัดเก็บมูลฝอยติดเชื้อในภาวะน้ำท่วม

12 การลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

13 การลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

14 การลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

15 การลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

16 การทิ้งมูลฝอยติดเชื้อในสถานบริการการสาธารณสุข

17 สำนักสิ่งแวดล้อมได้รับงบประมาณโครงการจัดซื้อ
เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ ขนาดไม่น้อยกว่า 10 ตันต่อเตา จำนวน 2 เตา พร้อมติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ศูนย์กำจัดมูลฝอยหนองแขม ขณะนี้ผู้ว่าจ้างขออนุมัติซื้อตามผลการประกวดราคา

18 ในอนาคตจะมีการปรับปรุงเตาเผามูลฝอยติดเชื้อที่ศูนย์กำจัดมูลฝอย
ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันให้มีสภาพที่ดีและใช้งานได้ มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และหรือการสร้างระบบกำจัดมูลฝอยติดเชื้อระบบอื่นเพิ่มขึ้น ที่ศูนย์กำจัดมูลฝอยอ่อนนุช

19 ในอนาคตเมื่อระบบการเก็บขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อสมบูรณ์ ก็อาจจะมีการขยายกิจการรับเก็บขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อจากจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร โดยมีการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการได้ และเป็นไปตามนโยบายระดับชาติที่จะให้การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อเป็นแบบ Cluster

20 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google