งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อุปกรณ์ตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะโดยใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าวิ่งวน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อุปกรณ์ตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะโดยใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าวิ่งวน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อุปกรณ์ตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะโดยใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าวิ่งวน
COE Advanced Electromagnetic Nondestructive Evaluation Metal Smooth Surface อุปกรณ์ตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะโดยใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าวิ่งวน

2 Topic ทีมงาน ที่มาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ ขอบเขตของงาน เครื่องมือที่ใช้ งานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน ผลงานที่ทำ เอกสารอ้างอิง

3 ทีมงาน

4 ผศ.พิเชษฐ์ เชี่ยวธนะกุล
ทีมงาน นักศึกษา นายนันทนิติ นิติวรนันท์ รหัส นายสุทธาพงศ์ วราอัศวปติ รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ร่วมประเมิน ผศ.พิเชษฐ์ เชี่ยวธนะกุล ดร.ดารณี หอมดี

5 ที่มาและความสำคัญของปัญหา
หัวตรวจสอบในปัจจุบัน มีกลไกเชิงกลที่ซับซ้อน มีต้นทุนที่สูง โดยนำเข้าจากต่างประเทศ

6 วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ
เพื่อศึกษาเทคโนโลยีการตรวจสอบโดยไม่ทำลาย (Nondestructive Evaluation ) เพื่อศึกษาการทำงานของ Rotating Magnetic Field, Eddy Current เพื่อออกแบบการทำงานของหัว Probe โดยใช้หลักการใหม่ โดยลดกลไกเชิงกลให้น้อยลง เพื่อเปรียบเทียบข้อได้เปรียบ เสียเปรียบของหลักการใหม่และเก่า

7 ขอบเขตของงาน สามารถตรวจสอบโลหะซึ่งไม่ทำลายพื้นผิวโดยใช้การปรับระดับไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวด ให้เกินสนามแม่เหล็กหมุนวนโดยไม่ใช้กลไกเชิงกล สามารถตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะต่างๆได้

8 เครื่องมือที่ใช้ คอยด์สปริง ตัวแปรงสัญญาณ Analog to Digital Computer
Program ประมวลผล Data

9 งานที่เกี่ยวข้อง วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สำหรับหัวโพรบเอ็ดดีเคอร์เรนท์แบบดิฟเฟอเรนเชียล สหทัศน์ พิธานเกื้อกูล วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ RA Speed range:      Nortec 19eII,1200 RPM Nortec/NDT 24,1200 RMP Nortec 2000/2000 Dual, RPM Nortec 210;215;220, RPM FEATURES    Speed control: by the instrument Frequency range: 200 khz-6MHz Probe connector: 4 pin Lemo Signal coupling: Rotary transformer Connector: 16 pin connector Weight: 0.62 lbs (without probe or cable)

10

11 ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน
ลำดับที่ กิจกรรม เดือน มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. 1. ศึกษาและค้นคว้าทฤษฎีเพิ่มเติม 2. ออกแบบโครงสร้างโปรแกรม 3. การทำงานของ eddy current 4. การออกแบบ อุปกรณ์ 5. ทดลองกับชิ้นโลหะและบันทึกผล 6. สรุปรายงานขั้นสุดท้าย

12 ผลงานที่ทำ ศึกษาหลักการทำงานของ Eddy Current
ศึกษาหลักการทำงานของ Rotating Magnetic Field ศึกษาข้อมูลของเครื่องมือตามท้องตลาด ออกแบบหัวตรวจโดยใช้หลักการปรับเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า

13 เอกสารอ้างอิง www.rohmann.de/
inspection/eddycurrent.htm


ดาวน์โหลด ppt อุปกรณ์ตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะโดยใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าวิ่งวน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google