งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องมือวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ Air Conditioner Efficiency Meter
ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา นายสรณัย จันทรโยธา รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วาธิส ลีลาภัทร อาจารย์ร่วมประเมิน อ. ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล

2 หัวข้อที่จะนำเสนอ ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ
แผนการดำเนินงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ อุปกรณ์ที่ใช้ การคำนวณหาประสิทธิภาพ รูปแบบการต่อวงจร งานที่ทำในปัจจุบัน รูปแบบการดึงข้อมูลจากตัววัดอุณหภูมิและความชื้น งานที่จะทำในอนาคต

3 ที่มาของโครงการ เนื่องด้วยปัจจุบันมีการใช้เครื่องปรับอากาศจำนวนมาก และพลังงาน กำลังจะหมดไป จึงต้องมีการประเมินการใช้พลังงาน การวัดประสิทธิภาพแบบเดิมต้องใช้ผู้มีความชำนาญและเสียเวลาใน การวัดมาก เมื่อทำการวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศจำนวนมาก เสีย เวลานานและไม่สะดวก

4 วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อสร้างเครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศในงบประมาณที่ต่ำ เพื่อบุคคลทั่วไปที่ไม่มีความรู้ทางด้านเทคนิคในการวัดประสิทธิภาพ เครื่องปรับอากาศสามารถวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศได้ เพื่อทำให้การวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศทำได้ง่ายรวดเร็ว และ สะดวกในการใช้งาน

5 แผนการดำเนินงาน ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และออกแบบระบบ
จัดหาอุปกรณ์ พัฒนาเครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ ทดสอบและปรับปรุงแก้ไข จัดทำคู่มือการใช้งาน

6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้เครื่องมือวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศที่ใช้ง่าย โดยบุคคล ทั่วไปที่ไม่มีความรู้ทางด้านเทคนิคสามารถใช้วัดประสิทธิภาพ เครื่องปรับอากาศได้ ช่วยให้อาคารสำนักงานที่มีเครื่องปรับอากาศจำนวนมาก และได้ใช้ เครื่องมือวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศนี้ ได้นำผลการวัดไปใช้ เป็นตัวประเมิน ในการตัดสินใจ เพื่อทำการซ่อมแซม หรือเปลี่ยน เครื่องปรับอากาศในบริษัทต่อไป ซึ่งทำให้การใช้เครื่องปรับอากาศมี ประสิทธิภาพเต็มที่ และไม่สิ้นเปลืองกำลังไฟฟ้า

7 อุปกรณ์ที่ใช้ CP-PIC V3 Plus SHT15 2 ตัว LCD 16x2 Key 4x4
Air Flow Meter (ทำเอง)

8 การคำนวณหาประสิทธิภาพ
EER = QC/W QC = QS + QL QS = 1.08 CFM ( tr – tas ) QL = 0.67 CFM ( Gi – Gas )

9 รูปแบบการต่อวงจร

10 งานที่ทำในปัจจุบัน ต่ออุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้
ทำให้ LCD แสดงผลได้ถูกต้อง นำค่าอุณหภูมิและความชื้นออกมาแสดงผลที่ให้ได้ค่าที่ถูกต้อง

11 รูปแบบการดึงข้อมูลจากตัววัดอุณหภูมิและความชื้น

12 งานที่จะทำในอนาคต ทำอุปกรณ์วัดปริมาตรลม
เชื่อมต่อปุ่มกดเข้ากับไมโครคอนโทรเลอร์ นำค่าต่างๆ มาเข้าสูตร เพื่อคำนวณหาประสิทธิภาพ ทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ ให้ได้ค่าที่แม่นยำ

13 Q&A


ดาวน์โหลด ppt ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google