งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดระเบียบสังคม Social Organization

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดระเบียบสังคม Social Organization"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดระเบียบสังคม Social Organization
บทที่ 3 การจัดระเบียบสังคม Social Organization

2 การจัดระเบียบสังคม หมายถึง การปฏิสัมพันธ์กันอย่างมีระบบแบบแผนของสมาชิก เพื่อให้สมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และทำงานร่วมกันเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานของสังคมได้ ทั้งนี้เพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการจัดระบบเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถแบ่งงานกันทำและบรรลุเป้าหมายร่วมกัน ซึ่งจะทำให้สมาชิกอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข และทำให้มนุษย์อยู่รอดได้

3 องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม
1. บรรทัดฐาน 2. สถานภาพ 3. บทบาท

4 1. บรรทัดฐาน หมายถึง กรอบในการประพฤติปฏิบัติที่สังคมกำหนดให้สมาชิกปฏิบัติร่วมกัน ประกอบไปด้วย วิถีประชา จารีต กฎหมาย

5 1. วิถีประชา จะเป็นแนวปฏิบัติทั่ว ๆ ไป ในชีวิตประจำวัน ที่ช่วยให้การดำเนินชีวิตของเราราบรื่น

6 2. จารีตประเพณี แนวปฏิบัติที่สำคัญและต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

7 3. กฎหมาย กฎระเบียบที่มีการเขียนขึ้นเป็นตัวอักษร และมีการบังคับใช้ตามตัวบทนั้น ๆ

8 2. สถานภาพ 1. สถานภาพที่ได้มาโดยอัตโนมัติ (ascribed status)
หมายถึง ตำแหน่งของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับสิทธิและหน้าที่ในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม 1. สถานภาพที่ได้มาโดยอัตโนมัติ (ascribed status) 2. สถานภาพที่ได้มาด้วยความสามารถ (achieved status)

9 ความสำคัญของสถานภาพ สัมพันธ์กันเป็นส่วนตัวต่อกัน
1. ช่วยให้บุคคลติดต่อกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีความ สัมพันธ์กันเป็นส่วนตัวต่อกัน 2. ช่วยให้เราสามารถตัดสินได้ว่า ควร หรือ ไม่ควร ปฏิบัติอย่างไรต่อบุคคลแต่ละคน ในการติดต่อกับบุคคลอื่น 3. ช่วยให้เรารู้ว่าจะคาดหวังอะไรได้จากผู้อื่น หรือผู้อื่นควรคาดหวังอะไรจากเราได้แค่ไหน

10 ลักษณะของสถานภาพ 1. สถานภาพเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนตัวเรา
2. สถานภาพเป็นสิ่งเชื่อมโยงกัน 3. บุคคลจะมีสถานภาพหลัก (key status) เพียงสถานภาพเดียว 4. สถานภาพมีระดับสูงต่ำ (rank) 5. สถานภาพที่บุคคลดำรงอยู่อาจมีความขัดแย้งกันได้ (status inconsistency) 6. สถานภาพอาจสังเกตได้ด้วยสัญลักษณ์ (symbol)

11 3. บทบาท หมายถึง กลุ่มบรรทัดฐานของสถานภาพหนึ่ง ๆ หรือกล่าวได้อีกความหมายหนึ่ง คือ การกระทำตามความคาดหวังของสังคมที่มีต่อสถานภาพของเรา นอกจากนี้บทบาทยังเป็นการกระทำตามสิทธิ หน้าที่ ตามสถานภาพที่เราสวมอยู่

12 ความขัดแย้งในบทบาท 1. ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้คาดหวัง (intrasender conflicts) 2. บุคคลต่างกัน ความคาดหวังต่างกันด้วย ( intersender conflicts) 3. บทบาทด้านต่าง ๆ ที่บุคคลสวมอยู่ ขัดแย้งกัน ( interrole conflicts) 4. บุคคลไม่มีความพอใจในบทบาทที่สวมอยู่ (person-role conflicts)


ดาวน์โหลด ppt การจัดระเบียบสังคม Social Organization

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google