งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดระเบียบทางสังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดระเบียบทางสังคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดระเบียบทางสังคม
ความหมายและองค์ประกอบ 1.บรรทัดฐาน (Norms) วิถีประชา จารีต กฎหมาย 2.การควบคุมทางสังคม (Social control) 3.สถานภาพ (Status) รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคม แบบเครือญาติ แบบนายกับบ่าว แบบสถานภาพ แบบพันธะสัญญา แบบระบบราชการ

2 การจัดระเบียบทางสังคม
ความหมาย กฎเกณฑ์/ระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและกลุ่ม เพื่อการดำรงอยู่ของสังคม

3 การจัดระเบียบทางสังคม
องค์ประกอบ 1.บรรทัดฐาน/ปทัสถาน (Norms) - วิถีประชา (folkways) - จารีต/ประเพณี (mores) - กฎหมาย ( laws) 2.การควบคุมทางสังคม (Social control) 3.สถานภาพ (Status)

4 การจัดระเบียบทางสังคม
บรรทัดฐาน/ปทัสถาน (Norms) กฎ กติกา มารยาท ระเบียบ แนวทาง การปฏิบัติตนให้เหมาะสมสำหรับ การอยู่ร่วมกันในสังคม มาตรฐานที่กำหนดว่าอะไรถูก/ผิด ควรกระทำ/ไม่ควรกระทำ

5 การจัดระเบียบทางสังคม
วิถีประชา แนวทางการดำเนินชีวิตประจำวัน ของคนในสังคมนั้นที่ปฏิบัติกันมา จนเคยชิน

6 การจัดระเบียบทางสังคม
จารีต/ประเพณี กฏเกณฑ์ข้อห้ามที่กระทบ ต่อความเชื่อทางศีลธรรม

7 การจัดระเบียบทางสังคม
กฎหมาย ข้อบังคับอย่างเป็นทางการ เพื่อควบคุมพฤติกรรมคนในสังคม มีองค์กรของรัฐเป็นผู้ควบคุม ได้แก่ ตำรวจ อัยการ ผู้พิพากษา ผู้คุม

8 การจัดระเบียบทางสังคม
การควบคุมทางสังคม (Social control) 1.การให้รางวัล 2.การลงโทษ 3.การอบรมปลูกฝังจนเกิดจิตสำนึก ในการควบคุมตนเอง

9 การจัดระเบียบทางสังคม
รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคม แบบเครือญาติ แบบนายกับบ่าว/ศักดินา แบบสถานภาพ แบบพันธะสัญญา แบบระบบราชการ

10 การจัดระเบียบทางสังคม
สถานภาพ (Status) ตำแหน่ง/ฐานะที่ได้จากการเป็น สมาชิกของสังคม 1.โดยกำเนิด 2.โดยความสามารถ

11 การจัดระเบียบทางสังคม
สถานภาพกับบทบาท บุคคลมีสถานภาพใด จะต้องปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดชอบที่กำหนด เรียกว่า บทบาท 1.บทบาทในอุดมคติ 2.บทบาทที่บุคคลเข้าใจ/รับรู้ 3.บทบาทที่แสดงออกจริง

12 การจัดระเบียบทางสังคม
สถานภาพกับการแบ่งชั้นทางสังคม สถานภาพแสดงถึงระดับหรือชั้นทางสังคม ว่าอยู่ในระดับสูงหรือต่ำ มักจัดไว้เป็นคู่ๆ เช่น -บิดามารดากับบุตร -ครูอาจารย์กับนิสิต -รุ่นพี่กับรุ่นน้อง -ตำรวจกับประชาชน -นายจ้างกับลูกจ้าง

13 การจัดระเบียบทางสังคม
แบบระบบราชการ (Bureaucracy) สมาชิกจะเข้าอยู่ร่วมในองค์กรขนาดใหญ่ ดำเนินชีวิตภายใต้กฎเกณฑ์ (มากมาย...) แต่ละคนจะถูกแยกไปตามหน้าที่เฉพาะด้าน มีความสัมพันธ์ตามระบบสายงาน มีการปกครองตามลำดับชั้น (hierarchy) มีสายการบังคับบัญชา (chain of command)

14 การจัดระเบียบทางสังคม การบริหารราชการแผ่นดินของไทย
กระทรวง การบริหารราชการแผ่นดินของไทย กรม กอง แผนก ฝ่าย

15 การจัดระเบียบทางสังคม การบริหารราชการในมหาวิทยาลัย
เลขา สกอ. การบริหารราชการในมหาวิทยาลัย อธิการบดี คณบดี หัวหน้าภาค อาจารย์


ดาวน์โหลด ppt การจัดระเบียบทางสังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google