งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักคณิตศาสตร์ประยุกต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักคณิตศาสตร์ประยุกต์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักคณิตศาสตร์ประยุกต์
ปาริชาติ งอกผล

2 ก่อนอื่น..มาทำความรู้จักกับคำว่า ‘คณิตศาสตร์ประยุกต์’ กันก่อนดีกว่า !
ก่อนอื่น..มาทำความรู้จักกับคำว่า ‘คณิตศาสตร์ประยุกต์’ กันก่อนดีกว่า ! คณิตศาสตร์ประยุกต์ (applied mathematics) แตกต่างจากคณิตศาสตร์บริสุทธิ์(pure mathematics) ตรงที่จะเริ่มต้นพิจารณาปัญหาในชีวิตจริงก่อน ไม่ว่าปัญหานั้นจะอยู่ในเรื่องของวิชา หรือ สาขาใดๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ธรณีวิทยา แพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์ฯลฯ หรือแม้แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาคณิตศาสตร์เอง แล้วจากนั้น จะนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่มีอยู่แล้ว หรืออาจจำเป็นจะต้องสร้างใหม่ขึ้นมา เพื่อจะใช้แก้ปัญหาเหล่านั้น

3 นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ คือ...
“นักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานหรือเอาทฤษฎีที่พิสูจน์แล้ว มาประยุกต์เป็นของตนเอง.”

4 ศรีนิวาสะ ไอเยนการ์ รามานุจัน
เกิดวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ.1887 ที่เมือง อีโรด, บริติชอินเดีย เชื้อชาติ อินเดีย รามานุจันเป็นสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน  เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย ซึ่งได้สร้างงานวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ทฤษฎีบทต่างๆ ทางทฤษฎีจำนวน อนุกรมอนันต์ และเศษส่วนต่อเนื่อง โดยที่ไม่เคยรับการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ อย่างเป็นทางการเลย ก็อดฟรีย์ ฮาร์ดี้ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษกล่าวถึงอัจฉริยภาพของรามานุจันว่าเทียบเท่ากับนักคณิตศาสตร์ระดับตำนาน เช่น  ออยเลอร์ เกาส์ นิวตัน และอาร์คิมีดีส

5 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เซอร์ ไอแซก นิวตัน อาร์คิมิดีสแห่งซีรากูซา

6 ประวัติ รามานุจันได้รู้จักกับคณิตศาสตร์ครั้งแรกเมื่ออายุ 10 ปี จากทักษะโดยธรรมชาติด้านคณิตศาสตร์ รามานุจันจึงได้รับหนังสือตรีโกณมิติของ เอส. แอล. โลนีย์ และเขาศึกษาจนเชี่ยวชาญเมื่ออายุเพียง 12 ปี กระทั่งสามารถค้นพบทฤษฎีบทของตัวเอง ผลจากความสามารถอันโดดเด่นด้านคณิตศาสตร์ทำให้เขาได้รับทุนการศึกษา รามานุจันทำวิจัยเรื่องจำนวนแบร์นูลลีและค่าคงตัวออยเลอร์-แมสเชโรนีด้วยตนเองเมื่ออายุ 17 และได้รับทุนเข้าเรียนต่อที่วิทยาลัยของรัฐในเมืองคัมบาโคนัม แต่ต่อมาเขาสูญเสียทุนนี้ไปเพราะผลการเรียนด้านอื่นนอกเหนือจากคณิตศาสตร์นั้นแย่มาก

7 รามานุจัน

8 เขาทำงานวิจัยของตนเองที่วิทยาลัยอื่น พร้อมกับทำงานเป็นเสมียนที่สำนักงานบัญชีแห่งหนึ่งในเมืองมัทราสเพื่อหาเลี้ยงตัว  ในปี ค.ศ เขาส่งตัวอย่างทฤษฎีบทจำนวนหนึ่งไปให้นักคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ 3 คนแต่มีเพียงก็อดฟรีย์ ฮาร์ดี้ ที่มองเห็นอัจฉริยภาพในงานของเขา และต่อมาได้เชิญให้รามานุจันไปร่วมงานกับเขาที่เคมบริดจ์ รามานุจันได้เป็นสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอนและสมาชิกวิทยาลัย ทรินิตี้ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ต่อมาล้มป่วยและเดินทางกลับไปอินเดีย เขาเสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ ขณะมีอายุเพียง 32 ปี

9 ข้อความคาดการณ์ของรามานุจัน
ผลงาน ค่าคงตัวของลันเดา-รามานุจัน Mock theta functions ข้อความคาดการณ์ของรามานุจัน Ramanujan prime Ramanujan–Soldner constant Ramanujan theta function Ramanujan's sum Rogers–Ramanujan identities

10 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt นักคณิตศาสตร์ประยุกต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google