งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
Experiential Learning ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์

2 ความหมาย ขอบข่ายความหมายของคำว่าการเรียนรู้จาก ประสบการณ์กว้างขวางมาก ทั้งในทางปฏิบัติและทฤษฎี ต่างมี มุมมองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่แต่ละคนเผชิญอยู่ใน ชีวิตประจำวัน ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า “การเรียนรู้จาก ประสบการณ์ (Experiential Learning) คือกระบวนการสร้าง ความรู้ ทักษะ และเจตคติด้วยการนำเอาประสบการณ์เดิมของ ผู้เรียนมาบูรณาการเพื่อสร้างการเรียนรู้ใหม่ ๆ ขึ้น”

3 ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการ
งานของโคล์บและฟราย (Kolb and Fry ; 1975 ; 1984) ก็เป็นที่นิยมใช้อ้างอิงถึงในการ อภิปรายถึงประเด็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ โคล์บ และ ฟราย (Kolb and Fry. 1975) ระบุในผลการวิจัยว่า ขณะที่ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตามรูปแบบ การเรียนรู้ที่ตนถนัด และการเรียนรู้ก็จะเริ่มจากจุดนั้น แต่ ผู้ใหญ่ก็จะใช้รูปแบบการเรียนรู้หลาย ๆ รูปแบบแม้ว่าจะ ไม่มากหรือได้ผลเท่ากับแบบที่ตนเองถนัด

4 กระบวนการเรียนรู้จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์

5 ขั้นที่ 1 ประสบการณ์รูปธรรม เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีประสบการณ์ ต่างๆ เน้นการใช้ความรู้สึกและยึดถือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงตามที่ตน ประสบในขณะนั้น ขั้นที่2 การไตร่ตรองเป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมุ่งที่จะทำความเข้าใจ ความหมายของประสบการณ์ที่ได้รับโดยการสังเกตอย่าง รอบคอบเพื่อการไตร่ตรองพิจารณา

6 ขั้นที่ 3 การสรุปเป็นหลักการนามธรรม เป็นขั้นที่ผู้เรียน
ขั้นที่ 4 การทดลองปฏิบัติจริง เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนนำ เอา ความเข้าใจที่สรุปได้ในขั้นที่ 3 ไปทดลองปฏิบัติจริง เพื่อ ทดสอบว่าถูกต้องหรือขั้นตอนนี้เน้นที่การประยุกต์ใช้

7 แนวความคิดจากทฤษฎีของ Kolb

8 1. แบบคิดอเนกนัย หรือ Diverges หมายถึง รูปแบบการเรียนที่ เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 เป็นแบบที่ผู้เรียนมี ความสามารถในการรับรู้ และการสร้างจินตนาการต่างๆ ขึ้นเอง สามารถไตร่ตรองจนมองเห็นภาพโดยส่วนรวม ผู้เรียนที่ มีรูปแบบการเรียนแบบนี้จะทำงานได้ดีในสถานการณ์ที่ต้องการ ความคิดหลากหลาย เช่น การระดมสมอง

9 Grounded theory of media selection..
E-Pedagogy: Project-Based Learning 4/4/2017 Grounded theory of media selection.. Assist. Prof. Dr. Jintavee K.

10 2. แบบดูดซึม หรือ Assimilators หมายถึง รูปแบบการ เรียนที่เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 เป็นรูปแบบการ เรียนที่ผู้เรียนมีความสามารถในการสรุปหลักการหรือกฎเกณฑ์ ผู้ เรียนที่มีรูปแบบการเรียนแบบนี้มักสนใจในหลักการที่เป็นนามธรรม มากกว่าแต่ไม่ชอบการลงมือปฏิบัติและมักไม่คำนึงถึงการนำทฤษฎี ไปประยุกต์ใช้

11 3. แบบคิดเอกนัย หรือ Convergers หมายถึง รูปแบบ การเรียนที่เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 3 และขั้นที่ 4 เป็นรูปแบบ การเรียนที่ผู้เรียนมีความสามารถในการนำความคิดที่เป็น นามธรรม ไปใช้ในการปฏิบัติ ผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนแบบนี้สามารถสรุป วิธีที่ถูกต้องที่สุดเพียงวิธีเดียวที่จะสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหา ได้ ไม่ชอบใช้อารมณ์ในการแก้ปัญหาแต่ใช้เหตุผล ชอบทำงานกับ วัตถุมากกว่างานกับบุคคล มักมีความสนใจที่เฉพาะเจาะจงใน สิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีความเชี่ยวชาญในสิ่งนั้น

12 4. แบบปรับปรุง หรือ Accommodators หมายถึง รูป แบบการเรียนที่เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 4 และขั้นที่ 1 ผู้เรียนที่ มีรูปแบบการเรียนแบบนี้จะชอบลงมือปฏิบัติ ชอบทดลอง และจะ ทำงานได้ดีในสถานการณ์ที่ต้องใช้การปรับตัว มีแนวโน้มจะแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีการที่ตนนึกคิดขึ้นเองในลักษณะที่ชอบลอง ผิดลองถูก และชอบทำงานร่วมกับผู้อื่น (Kolb, Rubin, & Osland, 1991: 23-40)

13 E-Pedagogy: Project-Based Learning
4/4/2017 Assist. Prof. Dr. Jintavee K.

14 คำถาม 1.ใครเป็นคนคิดค้นทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Experiential Learning 2.กระบวนการการเรียนรู้ของทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Experiential Learningมีกี่ขั้นตอน และอะไรบ้าง 3.ความหมายของคำว่า “Experiential Learning ” 4.แนวคิดแบบเอกนัยจะเน้นในเรื่องใด 5.แนวคิดใดที่มุ่งเน้นรูปแบบการเรียนที่เป็นนามธรรมมากกว่าการลง มือปฏิบัติ

15 นางสาวจันจิรา นาหนองตูม เลขที่ 32 นางสาวนารีรัตน์ มาตรา เลขที่ 33
จัดทำโดย นางสาวจันจิรา นาหนองตูม เลขที่ 32 นางสาวนารีรัตน์ มาตรา เลขที่ 33 นางสาวรัตนาภรณ์ วงศ์กาฬสินธ์ เลขที่ 41 นางสาวสุพัตรา อรรคศรีวร เลขที่ 62 สาขาภาษาอังกฤษ กลุ่ม 3 คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม


ดาวน์โหลด ppt ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google