งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
ดร.เมธินี ศรีวัฒนกุล กรมวิชาการเกษตร

2 ที่มาของการวิเคราะห์สถานภาพ และจัดทำมาตรการสร้างความสามารถ IBC
คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบัน (Institutional Biosafety Committee - IBC) เป็นกลไกสำคัญที่สุดในการควบคุมดูแลความปลอดภัยในการดำเนินงานเกี่ยวกับงานวิจัย GMOs เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับนักวิจัยมากที่สุด สามารถตรวจสอบ ให้คำแนะนำ และความช่วยเหลือแก่นักวิจัยได้อย่างสม่ำเสมอ ผู้วิจัยปลอดภัย เนื่องจาก IBC เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุมดูแลงานวิจัยให้เกิดความปลอดภัย ประกอบกับการที่ร่าง พรบ.biosafety ที่จะมีผลบังคับใช้ในอนาคตจะทำให้การทำงานของ IBC เป็นไปในรูปแบบของการบังคับใช้ และมีบทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตาม จึงจำเป็นต้องมีการเร่งสร้างความสามารถของ IBC ผู้ที่เกี่ยวข้องปลอดภัย พรบ. Biosafety โปร่งใส ตรวจสอบได้ สร้างความมั่นใจแก่สาธารณะ

3 การประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานภาพ IBC รายภูมิภาค
ภาคเหนือ 22 ก.ย. 51 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7 – 8 ส.ค. 51 ภาคกลาง 27 ต.ค. 51 โดย BIOTEC ในฐานะฝ่ายเลขานุการของ TBC ได้จัดการประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานภาพของ IBC ขึ้นในแต่ละภูมิภาคของประเทศ ภาคใต้ 17 พ.ย. 51

4 ปัจจัยในการวิเคราะห์
คณะกรรมการ องค์ประกอบ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ ด้านนโยบาย กลไกสนับสนุน การทำงาน ระบบในการประเมินโครงการ โดยจากผลการวิเคราะห์พบว่าการที่ IBC จะสามารถทำงานได้ดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักๆ 2 ส่วน ได้แก่ ตัวคณะกรรมการเอง และปัจจัยสนับสนุนการทำงานด้านอื่นๆ จากการพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ใน IBC แต่ละแห่ง ทำให้เราสามารถแบ่งระดับการดำเนินงานของ IBC ภายในประเทศไทยออกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ระบบในการติดตามตรวจสอบโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบเฉพาะ

5 กลุ่มที่ 1 กรรมการมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ด้านนโยบาย เช่น มีแผนงานเชิงรุก ในการพัฒนา ความเชี่ยวชาญของ IBC กรรมการมีองค์ ประกอบเหมาะสม ครบถ้วน มีระบบรองรับการทำงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น การจัดทำคู่มือ แบบฟอร์ม ขั้นตอน การสำรวจและจัดทำข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อประกอบการพิจารณา กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ IBC มีคณะกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญ และมีองค์ประกอบครอบคลุม รวมทั้ง เคยมีประสบการณ์ในการประเมินโครงการ ในด้านปัจจัยสนับสนุนอื่นๆ ก็มีนโยบายสนับสนุนการทำงานที่ชัดเจนจากผู้บริหาร รวมทั้งมีกลไกรองรับการประเมินโครงการที่ค่อนข้างครบถ้วน บางแห่งมีการติดตามตรวจสอบโครงการแต่อาจจะยังไม่เต็มรูปแบบนัก และมีการมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ แต่อาจจะยังเป็นในลักษณะของงานฝากทำให้การทำงานยังไม่เต็มที่นัก กรรมการ มีประสบการณ์ ประเมินโครงการ มีหน่วยงาน รับผิดชอบ เป็นการเฉพาะ มีกลไกในการ monitor โครงการ

6 กลุ่มที่ 2 กรรมการมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ด้านนโยบาย เช่น มีแผนงานเชิงรุก ในการพัฒนา ความเชี่ยวชาญของ IBC กรรมการมีองค์ ประกอบเหมาะสม ครบถ้วน มีระบบรองรับการทำงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น การจัดทำคู่มือ แบบฟอร์ม ขั้นตอน การสำรวจและจัดทำข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อประกอบการพิจารณา สำหรับกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มที่ IBC มีคณะกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญ และมีองค์ประกอบที่ค่อนข้างครบถ้วน อย่างไรก็ตามยังมีประสบการณ์ในการประเมินโครงการค่อนข้างน้อย ประกอบกับนโยบายของทางสถาบันที่อาจจะมีการสนับสนุนแต่ยังไม่มีการกำหนดเป็นมาตรการที่ชัดเจน หรือมีการดำเนินงานจัดทำระบบสนับสนุนการทำงานที่เป็นรูปธรรมมากนัก กรรมการ มีประสบการณ์ ประเมินโครงการ มีหน่วยงาน รับผิดชอบ เป็นการเฉพาะ มีกลไกในการ monitor โครงการ

7 กลุ่มที่ 3 กรรมการมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ด้านนโยบาย เช่น มีแผนงานเชิงรุก ในการพัฒนา ความเชี่ยวชาญของ IBC กรรมการมีองค์ ประกอบเหมาะสม ครบถ้วน มีระบบรองรับการทำงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น การจัดทำคู่มือ แบบฟอร์ม ขั้นตอน การสำรวจและจัดทำข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อประกอบการพิจารณา ในกลุ่มสุดท้ายเป็นกลุ่มที่ IBC มีคณะกรรมการที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ แต่อาจจะยังมีองค์ประกอบไม่ครบถ้วน และยังขาดประสบการณ์ในการประเมินโครงการจริง ประกอบกับทางสถาบันยังไม่มีนโยบายสนับสนุนการทำงานที่ชัดเจน จึงยังไม่มีการจัดทำระบบต่างๆ เพื่อรองรับการทำงาน กรรมการ มีประสบการณ์ ประเมินโครงการ มีหน่วยงาน รับผิดชอบ เป็นการเฉพาะ มีกลไกในการ monitor โครงการ

8 สรุป ด้านนโยบาย เช่น มีแผนงานเชิงรุก ในการพัฒนา ความเชี่ยวชาญของ IBC
กรรมการมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มีระบบรองรับการทำงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น การจัดทำคู่มือ แบบฟอร์ม ขั้นตอน การสำรวจและจัดทำข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อประกอบการพิจารณา กรรมการมีองค์ ประกอบเหมาะสม ครบถ้วน อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยบางข้อที่ยังไม่มี IBC ในกลุ่มใดดำเนินการได้อย่างเต็มรูป คือ งการติดตามตรวจสอบโครงการวิจัยภายหลังผ่านการประเมินจาก IBC แล้ว และการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นเพื่อรับผิดชอบการดำเนินงานเป็นการเฉพาะ มีหน่วยงาน รับผิดชอบ เป็นการเฉพาะ กรรมการ มีประสบการณ์ ประเมินโครงการ มีกลไกในการ monitor โครงการ

9 เงื่อนไขสนับสนุน นักวิจัยเข้าถึงแหล่งทุนวิจัยจากต่างประเทศ และมีการดำเนินงานวิจัยด้านพันธุวิศวกรรมในสถาบันวิจัยอย่างต่อเนื่อง มีงานวิจัยและการเรียนการสอนในระดับปริญญาโท-เอกด้านพันธุวิศวกรรมในสถาบัน มี network กับ IBC ที่มีความเข้มแข็งและหน่วยงานชำนาญการในต่างประเทศ ข้อกำหนดจากหน่วยงานให้ทุนภายในประเทศ ให้ทุกโครงการที่ดำเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ GMOs ต้องผ่านการพิจารณาจาก IBC ของสถาบัน นโยบาย GMOs ของประเทศที่ชัดเจน นอกจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของ IBC โดยตรงดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีปัจจัยบางประการที่อาจส่งผลต่อการทำงานของ IBC ทั้งในด้านบวกและด้านลบ ได้แก่ (slide) โอกาส เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินงาน เพิ่มโอกาสในการพิจารณาโครงการของ IBC ซึ่งหากมีการยื่นเพื่อขอรับการพิจารณาจะทำให้ IBC มีโอกาสในการประเมินโครงการเพิ่มมากขึ้น

10 มาตรการเพิ่มขีดความสามารถ IBC
/Network/KM/ฯลฯ มาตรการสนับสนุนจากภายนอก การสนับสนุนในระดับนโยบายจากสถาบัน มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยเฉพาะ การผลักดันให้หน่วยงานให้ทุน ออกข้อกำหนดให้โครงการด้านพันธุวิศวกรรมต้องผ่านการพิจารณาจาก IBC โดยมาตรการสร้างขีดความสามารถของ IBC จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนที่ IBC และเครือข่ายสามารถดำเนินการได้เอง และสิ่งที่ต้องการความช่วยเหลือจาก TBC หรือ Authority ในแต่ละด้าน เช่น การผลักดันให้ Granting Agency ระบุให้เรื่อง IBC เป็น 1 ใน requirement ซึ่งทาง BIOTEC ได้จัดการประชุมหารือ เรื่อง “กลไกบริหารจัดการและกำกับดูแลงานวิจัยพันธุวิศวกรรม: บทบาทของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย” ขึ้นเมื่อวันที่ 27 มี.ค. ที่ผ่านมา และเชื่อว่า granting agency ต่างๆ โดยเฉพาะ สกว. น่าจะมีความตระหนักในเรื่องดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น

11 มาตรการหลัก : IBC + เครือข่าย ร่วมกันสร้าง &พัฒนา
พัฒนาระบบการจัดการความรู้ (KM) เช่น การสื่อสาร เผยแพร่ พัฒนาความรู้ที่ตรงกับความต้องการของ IBC ระบบการทำงานเป็นเครือข่าย เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนแนวคิดและประสบการณ์ระหว่าง IBC

12 เพิ่มประสบการณ์ พัฒนาความเชี่ยวชาญของ IBC
แผนการพัฒนาความสามารถของ IBC ในแต่ละสถาบัน (IBC dev. plan) หลักสูตรเพื่อเพิ่มทักษะการพิจารณาโครงการ ความร่วมมือระหว่างสถาบัน (Joint IBC Program ) เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง IBC (IBC Network) กลไกติดตามผลการดำเนินงาน (Monitoring) เป็นแกนนำด้านวิชาการ เป็น IBC ที่มีบทบาทในระดับนานาชาติ

13 มาตรการสนับสนุน: การผลักดันให้หน่วยงานให้ทุนออกข้อกำหนด
ให้โครงการ GE ต้องผ่านการพิจารณาจาก IBC ข้อสรุปจากการประชุมหารือ เรื่อง “กลไกบริหารจัดการและกำกับดูแลงานวิจัยพันธุวิศวกรรม: บทบาทของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย” (27 มีนาคม 2552) Granting agency ทั้งภายในและภายนอกสถาบันควรมีบทบาทในการสนับสนุนการทำงานของ IBC สถาบันควรให้ความสำคัญกับการสร้างความสามารถและการสร้างมาตรฐานของ IBC เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ สกว.ชัดเจน เพราะ อ.พีระเดช (ผอ.สกว.) มาเป็นประธาน วช.ไม่มา แต่จะทำสรุปส่งไปให้

14 Draft IBC Roadmap for disscussion
Network Joint program แกนนำวิชาการ KM Training Development plan Monitoring บทบาทนานาชาติ 2553 2554 2555 2556 2557

15 Open for discussion ทั้งหมดนี้เป็นแผนที่ฝ่ายเลขานุการประมวลขึ้นจากข้อมูลที่มีการเสนอในการประชุมระดับภูมิภาคทั้ง 4 ภาค ในปีที่ผ่านมา  ขอความเห็นจากที่ประชุมว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน อันไหนที่น่าจะเพิ่มเติม หรือมี IBC มีประสบการณ์ในส่วนไหนบ้างแล้ว (ถามจากอาจารย์บน panel ก่อน) แล้วช่วงบ่ายจะมีการหารือในรายละเอียดของแผนปฏิบัติการค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google