งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการ จ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ (ขยาย ๑๒๐ วัน) (๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖) ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการ จ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ (ขยาย ๑๒๐ วัน) (๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖) ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการ จ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ (ขยาย ๑๒๐ วัน) (๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖) ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๖

2 ขั้นตอนการปฏิบัติในการจ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ  รวม ๓ ขั้นตอน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ  รวม ๓ ขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ การยื่นแบบคำร้องขอจ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ ตามมติ ครม. (๑๕ มกราคม ๒๕๕๖) ขั้นตอนที่ ๒ การพาแรงงานต่างด้าวไปดำเนินการ ณ ศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จ ( One Stop Service ) ขั้นตอนที่ ๓ การพาแรงงานต่างด้าวไปรับใบอนุญาตทำงาน ณ สำนักงาน จัดหางานจังหวัด/สำนักจัดหางานกรุงเทพฯ เขตพื้นที่ ๑ - ๑๐

3 ขั้นตอนที่ ๑ การยื่นแบบคำร้อง
ฝ่ายนายจ้าง - เตรียมเอกสารหลักฐาน - กรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม - ประทับตราในเอกสาร (กรณีเป็นนิติบุคคล) หรือลงลายมือชื่อกำกับ (กรณีเป็นบุคคลธรรมดา) - จัดชุดเอกสาร (๔ ชุด : จริง ๑ ชุด / สำเนา ๓ ชุด) ติดรูปถ่ายให้ครบทุกชุด - ส่งเอกสาร ณ สำนักงานจัดหางานฯ ที่เป็นที่ตั้งของ สถานประกอบการ

4 เอกสารหลักฐานที่นายจ้างต้องเตรียม
หนังสือแสดงความต้องการแรงงาน - ภาษาอังกฤษ บัญชีรายชื่อแรงงาน - ภาษาอังกฤษ แบบฟอร์มประวัติแรงงานตามที่กำหนด - ภาษาชาตินั้นๆ หรือภาษาไทย สัญญาจ้าง (เฉพาะแรงงานพม่า) ใบโควตา สำเนาทะเบียนบ้านและสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (กรณีเป็นบุคคลธรรมดา) หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีเป็นนิติบุคคล) หนังสือมอบอำนาจติดอากรแสตมป์ ๑๐ บาท (กรณีมอบอำนาจ) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้มอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจ รูปถ่ายคนต่างด้าว ๔ รูป (เฉพาะแรงงานพม่าและลาว)

5 ขั้นตอนที่ ๑ การยื่นแบบคำร้อง (ต่อ)
ฝ่ายเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้อง/ครบถ้วนของเอกสาร ตรวจสอบจำนวนแรงงานต่างด้าวให้ตรงกับจำนวนโควตาที่นายจ้างมี จัดทำทะเบียนคุมจำนวนการยื่นแบบ กำหนดหมายเลขรหัสแรงงานต่างด้าว ประทับตรา คืนเอกสารฉบับสำเนาให้นายจ้าง ๑ ชุด เก็บสำเนาไว้ ๑ ชุด นำส่งเอกสารฉบับจริงพร้อมสำเนา ๑ ชุดให้กรมการจัดหางาน สรุปรายงานกรมการจัดหางาน

6 ขั้นตอนที่ ๒ การพาแรงงานต่างด้าวไปดำเนินการ ณ ศูนย์บริการ
ขั้นตอนที่ ๒ การพาแรงงานต่างด้าวไปดำเนินการ ณ ศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ฝ่ายนายจ้าง - เตรียมเอกสารหลักฐาน : แบบฟอร์มประวัติ / บัญชีรายชื่อ / หนังสือของราชการที่แจ้งให้พาไปศูนย์ / แบบคำขออนุญาตทำงาน (ตท. ๒) พร้อมหลักฐานประกอบ - กรอกข้อมูลในแบบ ตท. ๒ - แนบเอกสารหลักฐานประกอบการยื่น ตท. ๒ : หนังสือรับรอง การจ้าง / สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน นายจ้าง / สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล / แผนที่ตั้ง สถานที่ทำงาน - พาแรงงานฯ ไปดำเนินการ ณ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ เพื่อขอรับ หนังสือเดินทาง / ขออนุญาตทำงาน / ขอรับการตรวจลงตราวีซ่า

7 ขั้นตอนที่ ๒ การพาแรงงานต่างด้าวไปดำเนินการ ณ ศูนย์บริการ
ขั้นตอนที่ ๒ การพาแรงงานต่างด้าวไปดำเนินการ ณ ศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จ (ต่อ) นจ. จนท. กกจ. ปท.ต้นทาง ยื่นเอกสาร (หนังสือนำส่ง/บัญชีรายชื่อ/แบบฟอร์มประวัติ) รับเอกสาร ตรวจสอบความถูกต้อง ให้ไปพบ จนท.ปท.ต้นทาง สัมภาษณ์แรงงานฯ ออกหนังสือเดินทางชั่วคราว (TP) แรงงงานต่างด้าว จนท. กกจ. ตรวจคนเข้าเมือง รับแบบ ตท.2 เก็บเงินค่าธรรมเนียม ออกใบเสร็จรับเงิน จัดเก็บข้อมูล BioData แรงงานต่างด้าว ส่งใบอนุญาตให้สำนักงานฯ ประสานข้อมูลให้ สปส. ตรวจลงตรา ประทับตราอนุญาต บันทึกข้อมูล/สปก. แจ้งรายชื่อให้ กกจ. ยื่นแบบคำขออนุญาต ตท.2 (หนังสือรับรอง/สำเนาบัตร,ทะเบียนบ้าน นจ.หรือหนังสือ รับรองการจดทะเบียน/แผนที่ตั้ง)

8 ขั้นตอนที่ ๓ การพาแรงงานต่างด้าวไปรับใบอนุญาตทำงานฯ
นายจ้าง พาแรงงานไปตรวจสุขภาพเพื่อขอใบรับรองแพทย์ / รับเล่มใบอนุญาตทำงานพร้อมหลักฐาน : ใบรับรองแพทย์ / สำเนาหน้าหนังสือเดินทางและสำเนาหน้าฯ ที่ประทับตราวีซ่า / ใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทำงาน


ดาวน์โหลด ppt การปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการ จ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ (ขยาย ๑๒๐ วัน) (๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖) ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google