ข้อคิดเพื่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น
การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑ กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ โดย ภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ แนวคิดสำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ จิตสำนึกต่อโลก ความรู้พื้นฐานด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็น ผู้ประกอบการ ความรู้พื้นฐานด้านพลเมือง ความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพ ความรู้พื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ความรู้พื้นฐานด้านสารสนเทศ ความรู้พื้นฐานด้านสื่อ ความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT)
ทักษะชีวิตและการทำงาน ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว ความคิดริเริ่มและการชี้นำตนเอง ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม การเพิ่มผลผลิตและความรู้รับผิด ความเป็นผู้นำและความรับผิดชอบ
ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานและการประเมินของศตวรรษที่ ๒๑ หลักสูตรและการสอนของศตวรรษที่ ๒๑ การพัฒนาทางวิชาชีพของศตวรรษที่ ๒๑ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของศตวรรษที่ ๒๑
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือทำงาน
จิตห้าลักษณะสำหรับอนาคต จิตเชี่ยวชาญ (Disciplined Mind) จิตรู้สังเคราะห์ (Synthesizing Mind) จิตสร้างสรรค์ (Creating Mind) จิตรู้เคารพ ( Respectful Mind) จิตรู้จริยธรรม (Ethical Mind) (Howard Gardner, Ph.D.)
วิธีเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ๑. มีเป้าหมายชัดเจน เป้าหมายของชีวิต (ความฝัน) เป้าหมายของการศึกษา การประกอบอาชีพ การยกระดับความคิดและจิตปัญญา ๒. สร้างพลังปัญญาในการศึกษา อิทธิบาท 4 ฉันทะ วิริยะ จิตะ วิมังสา
อิทธิบาท 4 - บาทฐานแห่งความสำเร็จ ฉันทะ(will,aspiration) – ความพอใจรัก ใคร่ในสิ่งนั้น วิริยะ(energy, effort, exertion) – ความพากเพียรในสิ่งนั้น จิตะ(thoughtfulness, active thought) – ความเอาใจใส่ฝักใฝ่ในสิ่งนั้น วิมังสา(investigation, examination, reasoning,testing) - ความหมั่นสอดส่อง ในเหตุผลของสิ่งนั้น