คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สกลนครโมเดล.
รายงานผลการดำเนินงาน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
COC.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ จังหวัดเชียงใหม่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘

1. การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ข้อมูล : - อำเภอมีแผนบูรณาการเชื่อมโยงกับชุมชนและท้องถิ่น ร้อยละ 100 - กำหนดอำเภอเป้าหมาย DHS ปี 2558 ร้อยละ 100 - ประเมินตนเองตามแนวทาง DHS-PCA ครบ 25 อำเภอ - กระบวนการเยี่ยมสำรวจ โดยทีมเยี่ยมจังหวัด ทุกอำเภอ ภายใน เดือนกรกฎาคม 2558 - จุดเน้นการพัฒนาในพื้นที่เรื่อง Unity team และ Community participation โดยการขยายผลการพัฒนาตามประเด็นสุขภาพ (Essential care)ตามบริบทแต่ละอำเภอ

1. การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ข้อชื่นชม : ผู้บริหารระดับจังหวัดและอำเภอให้ความสำคัญ เรียนรู้ปรับรูปแบบการพัฒนาจากรูปแบบโซน เป็นรูปแบบจังหวัด โดยกำหนด Service plan ด้านปฐมภูมิเป็น 2 สาขาย่อย ได้แก่ (1) สาขาปฐมภูมิ และ (2) สาขา Long Term Care และ Palliative care จัดเวทีระดับจังหวัด แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ(DHS) ประกวดเรื่องเล่า/นวัตกรรม และเวทีถอดบทเรียน เกิดการเสริมพลังให้พื้นที่และมีการพัฒนาต่อเนื่อง เข้าร่วม DHML 6 อำเภอ ส่วนอำเภออื่นๆเข้าร่วมในเวที/กิจกรรมจากจังหวัด เน้นการปรับทัศนคติในการคนทำงานในทุกอำเภอ จัดตั้งเครือข่ายสำคัญที่เข้มแข็ง : ทีมเภสัชปฐมภูมิ, ทีมPT/OT ร่วมพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ

1. การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา : ควรส่งเสริมการจัดเวทีเพื่อเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมเยี่ยมจังหวัดและพื้นที่ระดับอำเภอเพื่อเรียนรู้ในการใช้เครื่องมือ (DHS-PCA) เพื่อการพัฒนาเป็นในแนวทางเดียวกัน ส่งเสริมให้โรงพยาบาลแม่ข่ายมีการสนับสนุนติดตาม รพ.สต.เครือข่าย เกี่ยวกับระบบสนับสนุนการดูแลที่สำคัญ เช่น การจัดการด้านยา การจัดการขยะติดเชื้อ การจัดการน้ำทิ้งหรือสารคัดหลั่ง รวมทั้งส่งเสริมให้หน่วยบริการปฐมภูมิมีความเข้าใจ และร่วมเป็นเจ้าของระบบดูแลให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง การทดลองเยี่ยมบูรณาการ DHS-DC และถอดบทเรียนเพื่อการพัฒนา

2. ทีมหมอประจำครอบครัว (Family Care Team) ข้อชื่นชม : มีทีมหมอประจำครอบครัวครบทุกอำเภอ จัดทีมดูแลต่อเนื่องที่บ้านและช่องทางการรับปรึกษา แตกต่างตามบริบท จัดอบรมพัฒนาทีมสหวิชาชีพหลักสูตร Homecare Manager ซึ่งเป็นต้นแบบของเขตสุขภาพที่ 1 เน้นการเยี่ยมบ้านร่วมกับชุมชน อปท. และทีมผู้ดูแล (Caregiver) ที่ได้รับการพัฒนา จัดหลักสูตรพัฒนาทีมสหวิชาชีพ 5 weekend ให้ทุกอำเภอ กำหนดแนวทางชัดเจนในการส่งต่อผู้ป่วยจาก รพ.นครพิงค์ สู่ รพช.และ รพ.สต. โดยมี เครือข่ายนักกายภาพบำบัดทุกอำเภอร่วมดูแล กำหนดให้มีการรายงานสรุปการดำเนินการจากอำเภอ มีเรื่องเล่ากรณีผู้ป่วย

2. ทีมหมอประจำครอบครัว (Family Care Team) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา : ควรสนับสนุนการฟื้นฟูองค์ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ที่ผ่านหลักสูตร Home care manager (ปี2557) ต่อยอดโดยส่งเสริมแต่ละพื้นที่ได้ติดตามผลลัพธ์การดูแลกลุ่มผู้ป่วยสำคัญ เช่น การเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่ม Stroke/CVA, คุณภาพชีวิตและความพึงพอใจในกลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย เป็นต้น สนับสนุนให้ทีมหมอครอบครัวระดับอำเภอ ร่วมบริหารจัดการศูนย์ดูแลต่อเนื่อง(COC) ในรูปแบบสหวิชาชีพ และเป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา ต่อเนื่อง ร่วมกำหนดเกณฑ์ในการส่งผู้ป่วยเข้าศูนย์ (COC) เกณฑ์การส่งเยี่ยมโดยสหวิชาชีพ รวมทั้งแนวทางอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นไปตามบริบทและข้อจำกัดของแต่ละอำเภอ และเรียนรู้พัฒนาต่อเนื่อง

3. การดำเนินการ Palliative care ข้อชื่นชม : ทีมโรงพยาบาลนครพิงค์ ได้กำหนดแนวทางการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง การประสานข้อมูลส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ชัดเจน จัดตั้ง Pain clinic ใน รพ.นครพิงค์, รพ.ฝาง, รพ.จอมทอง และ รพ.สันป่าตอง และมีแผนจัดตั้งใน รพ.สันทราย รพช. ทุกแห่งได้ขออนุมัติกรอบบัญชียา Opioids และสามารถสั่งได้ครบภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๘

3. การดำเนินการ Palliative care ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา : ควรสนับสนุนให้ทีมสหวิชาชีพระดับอำเภอ เป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษาด้านวิชาชีพให้หน่วยบริการปฐมภูมิอย่างต่อเนื่อง ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนารูปแบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการติดตามผลลัพธ์ที่เหมาะสม ในแต่ละกลุ่ม