การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System: DHS

ทำไมต้อง DHS ?? ปัญหาสาธารณสุข ไม่สามารถแก้โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพียงด้านเดียว ตัวชี้วัดมากมาย ซ้ำซ้อน มุ่งแต่จะตอบตัวชี้วัด ขาดหัวใจในการทำงาน บริบทต่างกัน ตัดเสื้อโหลมาแจก การทำงานด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ผลักดันผ่านระบบบริการปฐมภูมิ

District health system : DHS ระบบสุขภาพอำเภอ District health system : DHS ระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับอำเภอร่วมกันของทุกภาคส่วนด้วยการบูรณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ผ่านกระบวนการชื่นชมและการจัดการความรู้ ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเป้าหมายร่วมเพื่อสุขภาวะของประชาชน

แนวคิดการทำงาน DHS การทำงานร่วมกันของรพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ประชาสังคม โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน

วิธีการดำเนินงาน DHS เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น, ทีมสุขภาพเป็นสุขและชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน การประเมินผลและเรียนรู้ตามบริบท www.themegallery.com

กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

U: Unity District Health Team การทำงานร่วมกันระดับอำเภอ U:CARE U: Unity District Health Team การทำงานร่วมกันระดับอำเภอ C: Community Participation การมีส่วนร่วมของเครือข่าย A:Appreciation and Quality การทำงานจนเกิดคุณค่าทั้งผู้ให้ผู้รับบริการ R: Resource sharing and human development การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร E: Essential care การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น www.themegallery.com

เป้าหมายของ กระทรวง10 สาขา บรรลุ KPI 10 สาขา นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ 1. หัวใจและหลอดเลือด 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 7. 5 สาขา 6. ตาและไต 5. จิตเวช 4.ทารกแรกเกิด 3. อุบัติเหตุ 2. มะเร็ง 8. ทันตกรรม 10. NCD บรรลุ KPI 10 สาขา 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. การ เมือง สนับ สนุน

ประเด็นสุขภาพในแต่ละระดับ อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธโปดิกส์ ทันตกรรม ตา ไต หมอครอบครัว โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ทารกแรกเกิด อุบัติเหตุ จิตเวช สูติกรรม ศัลยกรรม Service plan Chronic Diseases Psychiatric Diseases & Mental Health Disabillities End of life care High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly) P&P MCH EMS Acute Minor Diseases Dental Health Essential care สตรี เด็ก เยาวชน วัยแรงงาน สูงอายุ ผู้พิการ NCD อาหาร สิ่งแวดล้อม, สุขาภิบาล อาหาร Emerging disease ยุทธศาสตร์กระทรวง

เราจะบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้าไปในงานสุขภาพระดับอำเภอ อย่างไร

บูรณาการงานสุขภาพจิตชุมชน แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่ ตามกลุ่มวัยภายใต้ แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่

Well being กาย จิตวิญญาญ จิต สังคม

ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ประเด็นตาม Flagship & Service plan งานสุขภาพจิต ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต บูรณาการ(Integrate) DHS ประเด็นตาม Flagship & Service plan

ส่งเสริมสุขภาพจิต เพิ่มศักยภาพของบุคคลในการปรับตัวต่อการดำเนินชีวิต ทักษะในการปรับตัว สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคม

ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจิต (คัดกรอง ซักถาม สังเกต พูดคุย) ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นในกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโอกาสในการเจ็บป่วย ดูแล รักษา ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตระยะเริ่มแรก ส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อนให้กับสถานบริการระดับตติยภูมิ

บทบาทของกรมสุขภาพจิตใน DHS กำหนดนโยบาย/มาตรการสำคัญของงานสุขภาพจิต กำหนดมาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจิต สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี เครื่องมือสุขภาพจิต สนับสนุนให้เกิดการวิเคราะห์เชื่อมโยงระหว่างประเด็นสุขภาพทางกายกับมาตรการทางสุขภาพจิต สนับสนุนทางวิชาการให้กับเครือข่ายในพื้นที่ กำกับ ติดตามการดำเนินงานสุขภาพจิต

Conceptual Framework of Mental Health to DHS Unity District Health Teams (รพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ชุมชน) Clinical Outcomes -Morbidity -Mortality -Quality of Life 1.P&P 2.MCH 3.EMS 4.Acute Minor Diseases 5.Dental Health 6.Chronic Diseases 7.Psychiatric Diseases & Mental Health 8.Disabillities 9.End of life care 10.High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly ) ส่งเสริมสุขภาพจิต ParticipationAnalyses & Intervention ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต Psychosocial Outcome -Value -Satisfaction -Happiness CBL Common Goal Common Action Common Learning

เด็กติดเกมส์ ผลการเรียนถดถอย ก้าวร้าว สุขภาพเสีย การปรับตัว ความสัมพันธ์ในคร ความเครียด EQ ปัญหาการเรียน เข้ากับเพื่อนไม่ได้ ครอบครัวมีปัญหา เข้าถึงร้านเกม ผลการเรียนถดถอย ก้าวร้าว สุขภาพเสีย เด็กติดเกมส์

โรงเรียนคัดกรองเด็ก จัดกิจกรรม ทำข้อตกลงร้านเกมส์ กิจกรรมในพื้นที่ โรงเรียนคัดกรองเด็ก จัดกิจกรรม ทำข้อตกลงร้านเกมส์ จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์ สร้างความอบอุ่นในครอบครัว

กระบวนการทำงาน เลือกประเด็นสุขภาพ ตามพื้นฐานของแต่อำเภอ คณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน DHS ของอำเภอ/ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตในพื้นที่/ศูนย์สุขภาพจิตร่วมวิเคราะห์ประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยตามประเด็นสุขภาพ สร้างการมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม มาตรการในการให้การดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนในประชาชนกลุ่มต่างๆ ประชาชนได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตตามบริบทของพื้นที่จริง

ตัวอย่างการดำเนินงาน อำเภอ A เลือกประเด็น โรคเรื้อรัง เป็นประเด็นสำคัญ ทุกภาคส่วนวิเคราะห์ หาผู้ที่จะได้รับผลกระทบทางสุขภาพจิตทั้งหมดจากโรคเรื้อรัง เช่น ผู้ป่วย ญาติผู้ดูแล ชุมชน แนวโน้มสุขภาพจิตของคนกลุ่มต่างๆ ออกแบบกิจกรรม/มาตรการในการดูแลสุขภาพจิต ผู้ป่วยเรื้อรัง/ญาติ/ชุมชน ควบคู่กับการดูแลทางกายเดิม ประชาชนในอำเภอ Aได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตในประเด็นโรคเรื้อรัง

ตัวชี้วัดกรมสุขภาพจิต ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอที่มีการบูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ

สวัสดี 25