การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
งานบริการการศึกษา.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
งบประมาณและความช่วยเหลือ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางการจัดเวทีการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ปี 2559
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
ตัวชี้วัดที่ 2.6 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีนวัตกรรม (Innovation Base) อย่างน้อย 1 เรื่อง โดย นายแพทย์ชัยพร พรหมสิงห์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่ วัตถุประสงค์ 1.1 ให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ/หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรมที่ติดต่อกันเป็นแปลงใหญ่ 1.2 ทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรองของเกษตรกรตลอดกระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต การผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การแปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 1.3 ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ กษ. ในภูมิภาคทุกหน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมในแปลงที่กำหนดแต่ละจังหวัด

การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่ เป้าหมาย 2.1 มีพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดในแต่ละจังหวัด 2.2 มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต เทคโนโลยี ประสิทธิภาพในการผลิต ขั้นตอนตั้งแต่การผลิต ตลาดทุกแห่ง 2.3 มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการผลิต 2.4 ผลิตผู้จัดการโครงการภาครัฐ และเอกชน และเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2.5 ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่แปลงใหญ่ เพื่อให้เห็นผลและเกิดการขยายผล 2.6 ต้องพิสูจน์ได้ว่ามีการลดต้นทุนการผลิต มีประสิทธิภาพในการผลิต และการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ขั้นตอน คัดเลือกพื้นที่ เขต ชป. ส.ป.ก. นิคมสหกรณ์ อื่น ๆ จัดทำข้อมูลเกษตรกร พื้นที่โครงการ และการผลิต กำหนดเป้าหมายการผลิต เทคโนโลยี การตลาด และความรับผิดชอบ วางแผนการผลิตร่วมกับผู้เข้าร่วมโครงการ วางแผนด้านการตลาด การจัด การปัจจัยการผลิต การเฝ้าระวังฯ การจัดการแหล่งผลิต ฯลฯ ผลิตและควบคุมการผลิต การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว การผลิตผลิตภัณฑ์อย่างง่าย (ถ้ามี) ตลาด - เกษตรกร - Modern Trade - ทั่วไป - อื่น ๆ ให้ความช่วยเหลือด้านอื่นๆ เท่าที่จำเป็น/เหมาะสม - ประเมินผล - ปรับปรุง - ขยายพื้นที่ปีการเพาะปลูกต่อไป คัดเลือก ข้อมูล กำหนดเป้าหมาย วางแผนตลาด ปัจจัย วางแผนร่วมกับผู้ผลิต ผลิต ให้ความช่วยเหลืออื่นๆ ผลิตผลิตภัณฑ์ ตลาด ประเมิน

การกำกับดูแล การรายงาน (รายเดือน) 4.1 คณะกรรมการขับเคลื่อนระดับกระทรวง + สศก. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทุกหน่วย 4.2 คณะกรรมการระดับจังหวัด และอนุกรรมการที่ตั้งขึ้นตามความเหมาะสม โครงการ และจังหวัด สศก. และคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ สรุปเสนอการประชุม Morning Talk และ รมว.กษ. การรายงาน (รายเดือน) ข้อมูลที่จำเป็น รายนามเกษตรกรและแผนที่โครงการ เป้าหมายการผลิต/ เทคโนโลยีที่จะใช้ (อาจมีหลายอย่าง)/ เป้าหมายการตลาด ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

ข้าวโพด ข้าวไร่ ข้าวเหนียว ผลไม้ ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง ข้าวขาว อ้อย ยาง อ้อย Input Process Output Market ผลไม้ สับปะรด ผลไม้ ยาง ปาล์ม Primary Industry

แปลงใหญ่ ข้าว ยางพารา ประมง ปศุสัตว์ พืชอื่นๆ สหกรณ์ โครงการสนับสนุน กฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย