งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561
การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2 ความหมาย “ทะเบียนเกษตรกร”
ทะเบียนเกษตรกร คือ ข้อมูลของครัวเรือนผู้ประกอบการเกษตร ที่แสดงถึงสถานภาพและการประกอบอาชีพทางการเกษตรของครัวเรือน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน 2) สมาชิกในครัวเรือน 3) การถือครองที่ดินเพื่อการเกษตร 4) การประกอบกิจกรรมการเกษตร 5) การเข้าร่วมโครงการภาครัฐ 6) รายได้ 7) หนี้สิน 8) เครื่องจักรกลการเกษตร และ 9) แหล่งน้ำ ครัวเรือน หมายถึง ครอบครัวที่อยู่ในบ้านเรือนเดียวกัน ใช้เลขประจำบ้าน (ตามทะเบียนบ้าน) เดียวกัน

3 ประโยชน์ทะเบียนเกษตรกร
ใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นในการส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายและมาตรการต่างๆ ของภาครัฐ ใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์และคาดการณ์การผลิตทางการเกษตร ใช้ในการตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยธรรมชาติ ให้บริการหน่วยงานต่างๆ ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรมีประวัติการประกอบกิจกรรมการเกษตร และสามารถใช้วางแผนการผลิตของครัวเรือน

4 ข้อกำหนดเบื้องต้นในการใช้ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
เกษตรกรทุกครัวเรือนมีสิทธิ์แจ้งขึ้นทะเบียนได้ และเป็นการแจ้งโดยสมัครใจ เป็นข้อมูลของเกษตรกรที่ปลูกพืช เลี้ยงปศุสัตว์พื้นฐาน เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำพื้นฐาน ทำนาเกลือสมุทร และเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจเท่านั้น เกษตรกรสามารถแจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงข้อมูลหลังปลูก 15 วัน และไม่เกิน 60 วัน เป็นข้อมูลที่บันทึกตามที่ได้รับแจ้งจากเกษตรกร จึงไม่ใช่ข้อมูลเพื่อการรับรองความเป็นเกษตรกรหรือรับรองการประกอบกิจกรรมการเกษตรของครัวเรือน ข้อมูลการถือครองที่ดิน ไม่ได้จำกัดในเรื่องการมี/ไม่มีที่ดินเป็นของตนเองและการมี/ไม่มีเอกสารสิทธิ์ เป็นข้อมูลที่อ้างอิงได้กับรหัสทะเบียนบ้านและเลขประจำตัวประชาชนในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง

5 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเกษตรกร
ขึ้นทะเบียนตามความสมัครใจ ของเกษตรกร ไม่มีกฎหมาย ระเบียบ บังคับ ขึ้นทะเบียนเป็นรายครัวเรือน มีตัวแทนมาขอขึ้นทะเบียน 1 คน ผู้มาขอขึ้นทะเบียนจะต้อง บรรลุนิติภาวะ มีสัญชาติไทย เป็นผู้ประกอบกิจกรรมการเกษตร เป็นอาชีพหลัก หรือ อาชีพรอง ก็ได้ สามารถขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรได้ตลอดเวลา เกษตรกรแจ้งข้อมูล เพื่อขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงข้อมูล ตรวจสอบ (ประชาคม) ออกสมุดทะเบียนเกษตรกร/ รายงานผล 1 2 3

6 การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2560
ปรับกรอบระยะเวลาการปลูกข้าวตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ เริ่มตั้งแต่เดือน เมษายน เป็นต้นไป ปรับกรอบระยะเวลาในการขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงพืชสำคัญให้กระชับ เพื่อให้ได้ข้อมูลไปใช้ประโยชน์รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น การแจ้งปลูกข้าว ต้องแจ้งหลังปลูกภายใน วัน เพิ่มการจัดเก็บข้อมูลเครื่องจักรกลการเกษตร 9 หมวด คือ 1) เครื่องต้นกำลัง 2) เครื่องมือเตรียมดิน 3) เครื่องปลูก/เครื่องมือหยอด 4) เครื่องมือดูแลรักษา 5) เครื่องมือเก็บเกี่ยว 6) เครื่องสูบน้ำ 7) รถบรรทุกการเกษตร 8) เครื่องมือหลังการเก็บเกี่ยว 9) ระบบให้น้ำทางท่อ

7 การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร

8 การขึ้นทะเบียน/ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
เกษตรกรมาแจ้งหลังปลูก 15 วัน รณรงค์ให้ อกม. จัดเก็บ เพิ่มเติม FAARMis PC สำนักงานเกษตรอำเภอ เครื่องอ่านบัตรsmart card หลักฐาน บัตรประชาชน สำเนาเอกสารสิทธิ์(พื้นที่ใหม่) สัญญาเช่า(พื้นที่ใหม่) แบบคำร้อง ทบก 01(รายใหม่) หน่วยประมวลผลกลาง กสก

9 จัดพิมพ์รายชื่อ และข้อมูลการแจ้งปลูก
การตรวจสอบ จัดพิมพ์รายชื่อ และข้อมูลการแจ้งปลูก รายเดิม รายใหม่/แปลงใหม่ ติดประกาศรายชื่อ ในชุมชน ที่ประชาชนมองเห็นสะดวก FAARMis/GISagro/Qgis วัดพิกัดแปลงด้วยGPS คัดค้าน ไม่คัดค้าน ถูกต้อง

10 เกษตรกรต้องแจ้งปลูกข้าวหลังปลูก 15 - 60 วัน
กรอบระยะเวลา ปี 2560 เกษตรกรต้องแจ้งปลูกข้าวหลังปลูก วัน

11 กรอบระยะเวลา ปี 2560 (ต่อ)

12 กรอบระยะเวลา ปี 2560 (ต่อ)

13 แบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร
ในแบบคำร้องจะมีข้อความ 3 หน้า ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเครื่องจักรกลการเกษตร ข้อมูลการประกอบกิจกรรมการเกษตร 1

14 แบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร
3 2

15 สมุดทะเบียนเกษตรกรและรายงานผลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
สมุดทะเบียนเกษตรกร ถือว่าเป็นเอกสารที่ใช้แสดงสถานภาพ การเป็นเกษตรกร ออกให้ภายหลังจากที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกรเรียบร้อยแล้ว  ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน การถือครองที่ดิน  ข้อมูลกิจกรรมการเกษตร

16 รายงานจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
เจ้าหน้าที่สามารถเรียกดูรายงานได้จากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร โดยเลือกเมนู รายงาน แล้วคลิกเลือกรายงานที่ต้องการ

17 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2560/61
ครม. มีมติเมื่อวันที่ 19 กันยายน เรื่อง การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพ ข้าวให้แก่เกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2560/61 กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2560/61 ที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวฯ ปีการผลิต 2560/61 กับกรมส่งเสริมการเกษตร วิธีการช่วยเหลือ โดยจ่ายเงินช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า และข้าวปทุมธานี 1 ในอัตราไร่ละ 1,200 บาท ไม่เกินรายละ 10 ไร่

18 การตรวจสอบสิทธิ์ของเกษตรกร

19 การขอรับความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติด้านพืช
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556

20 การรายงานสถานการณ์เบื้องต้น
เมื่อเกิดภัยพิบัติ อำเภอรายงานเหตุด่วนสาธารณภัยให้จังหวัด เพื่อเสนอคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ. พิจารณาร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดในการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน

21

22 เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการ ก. ช. ภ. จ
เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด และคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ.มีมติ ให้ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน อำเภอประกาศ ให้เกษตรกรยื่นแบบความ จำนงขอรับความช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช (แบบ กษ.01)

23 แบบยื่นความจำนงขอรับความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช
แบบ กษ 01 4. พื้นที่ปลูก 5. พื้นที่ได้รับความเสียหาย (ทั้งหมด) 6. พื้นที่ขอรับความช่วยเหลือ (ไม่เกิน 30 ไร่)

24 7. รับรองข้อมูลความเสียหาย
ผู้รับรอง ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน นายก อบต. นายกเทศมนตรี

25


ดาวน์โหลด ppt การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google