การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่ วัตถุประสงค์ 1.1 ให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ/หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรมที่ติดต่อกันเป็นแปลงใหญ่ 1.2 ทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรองของเกษตรกรตลอดกระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต การผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การแปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 1.3 ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ กษ. ในภูมิภาคทุกหน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมในแปลงที่กำหนดแต่ละจังหวัด
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่ เป้าหมาย 2.1 มีพื้นที่เป้าหมายที่กำหนดในแต่ละจังหวัด 2.2 มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต เทคโนโลยี ประสิทธิภาพในการผลิต ขั้นตอนตั้งแต่การผลิต ตลาดทุกแห่ง 2.3 มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการผลิต 2.4 ผลิตผู้จัดการโครงการภาครัฐ และเอกชน และเกษตรกรที่เป็น Smart Farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2.5 ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่แปลงใหญ่ เพื่อให้เห็นผลและเกิดการขยายผล 2.6 ต้องพิสูจน์ได้ว่ามีการลดต้นทุนการผลิต มีประสิทธิภาพในการผลิต และการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ขั้นตอน คัดเลือกพื้นที่ เขต ชป. ส.ป.ก. นิคมสหกรณ์ อื่น ๆ จัดทำข้อมูลเกษตรกร พื้นที่โครงการ และการผลิต กำหนดเป้าหมายการผลิต เทคโนโลยี การตลาด และความรับผิดชอบ วางแผนการผลิตร่วมกับผู้เข้าร่วมโครงการ วางแผนด้านการตลาด การจัด การปัจจัยการผลิต การเฝ้าระวังฯ การจัดการแหล่งผลิต ฯลฯ ผลิตและควบคุมการผลิต การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว การผลิตผลิตภัณฑ์อย่างง่าย (ถ้ามี) ตลาด - เกษตรกร - Modern Trade - ทั่วไป - อื่น ๆ ให้ความช่วยเหลือด้านอื่นๆ เท่าที่จำเป็น/เหมาะสม - ประเมินผล - ปรับปรุง - ขยายพื้นที่ปีการเพาะปลูกต่อไป คัดเลือก ข้อมูล กำหนดเป้าหมาย วางแผนตลาด ปัจจัย วางแผนร่วมกับผู้ผลิต ผลิต ให้ความช่วยเหลืออื่นๆ ผลิตผลิตภัณฑ์ ตลาด ประเมิน
การกำกับดูแล การรายงาน (รายเดือน) 4.1 คณะกรรมการขับเคลื่อนระดับกระทรวง + สศก. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทุกหน่วย 4.2 คณะกรรมการระดับจังหวัด และอนุกรรมการที่ตั้งขึ้นตามความเหมาะสม โครงการ และจังหวัด สศก. และคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ สรุปเสนอการประชุม Morning Talk และ รมว.กษ. การรายงาน (รายเดือน) ข้อมูลที่จำเป็น รายนามเกษตรกรและแผนที่โครงการ เป้าหมายการผลิต/ เทคโนโลยีที่จะใช้ (อาจมีหลายอย่าง)/ เป้าหมายการตลาด ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข ผลการดำเนินงานที่สำคัญ
ข้าวโพด ข้าวไร่ ข้าวเหนียว ผลไม้ ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง ข้าวขาว อ้อย ยาง อ้อย Input Process Output Market ผลไม้ สับปะรด ผลไม้ ยาง ปาล์ม Primary Industry
แปลงใหญ่ ข้าว ยางพารา ประมง ปศุสัตว์ พืชอื่นๆ สหกรณ์ โครงการสนับสนุน กฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย