การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ บทที่ 13 การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
การยศาสตร์ (Ergonomics) มาจากภาษากรีกโบราณสองคำ คือ ERGON (work) + NOMUS (law) งาน กฎ +
ความหมายของการยศาสตร์ การยศาสตร์ หมายถึง การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อม ในการทำงาน
ความสำคัญของการยศาสตร์ การนำเอาความรู้ทางด้านการยศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการทำงาน นำไปสู่ความปลอดภัยในการทำงาน ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การและผู้ปฏิบัติงานดังนี้ ลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงานต่างๆ ลดความเมื่อยล้าในการบาดเจ็บจากการทำงาน ลดอุบัติเหตุจากการทำงาน ลดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม เกิดขวัญ กำลังใจ ความพึงพอใจในการทำงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการเพิ่มผลผลิตทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
องค์ประกอบของการยศาสตร์ 2. สรีรวิทยา 1. กายวิภาคศาสตร์ 3. จิตวิทยา 2.1 สรีรวิทยาในการทำงาน 2.2 สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม
การประยุกต์ใช้หลักการยศาสตร์กับการทำงาน 1. การออกแบบสถานที่ทำงาน ควรออกแบบให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้สะดวกแม้ว่าโครงสร้างและรูปร่างของแต่ละคนจะแตกต่างกัน 2. การจัดอิริยาบถในการทำงาน - การเคลื่อนไหวร่างกาย - ท่าทางสำหรับการยืนทำงาน - ท่าเดิน - ท่านั่งสำหรับการทำงาน
45 - 60 cm.
ข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการนั่งทำงานในสำนักงานจำนวน 378 คน (Grandjean และ Burandt, 1962)
การปรับปรุงสถานที่ปฏิบัติงานตามหลักกายศาสตร์ ออกแบบพื้นที่ปฏิบัติงานให้มีความสะดวก การวางผังของจุดปฏิบัติงาน แผนผังของสถานที่ปฏิบัติงานต้องสะดวก จุดต้นเหตุเสียงและอันตรายอื่นๆ ต้องแยกจากบริเวณที่มีผู้ปฏิบัติงานมาก คำนึงถึงท่าหลักในการปฏิบัติงาน ช่องทางเดิน ช่องทางขนย้ายวัสดุไม่ควรเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน ไม่วางกองวัสดุที่กีดขวางหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามหลักการยศาสตร์ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามหลักการยศาสตร์ ควบคุมตามหลักการยศาสตร์ คือ - แหล่งกำเนิดเสียง - เส้นทางผ่านของสียง - ตัวผู้ปฏิบัติงาน 1. เสียง
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามหลักการยศาสตร์ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามหลักการยศาสตร์ ปรับปรุงตามหลักการยศาสตร์ คือ ปรับแสงสว่างให้เหมาะกับงาน ปรับแสงสว่างให้กระจายสม่ำเสมอ จัดแสงสว่างไม่ให้พร่าตา 2. แสงสว่าง
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามหลักการยศาสตร์ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามหลักการยศาสตร์ ปัจจัยที่ต้องคำนึงตามหลักการยศาสตร์ คือ อุณหภูมิของอากาศ อุณหภูมิของพื้นผิว ความชื้นในอากาศ ความเร็วลมในการทำงาน ความหนักของงานที่ทำ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน เสื้อผ้าและเครื่องป้องกันอันตรายที่สวมใส่ 3. อุณหภูมิ
แก้ไขให้ถูกตามหลักการยศาสตร์