ขิ่ม สกุลนุ่ม, พย.ม (สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์),APN

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การเป็น วิทยากรกระบวนการ
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
สกลนครโมเดล.
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
Dream สถาบันส่งเสริม สุขภาพ บทบาท : ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย Service model Training center Research development Reference center Database network Referral.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ทบทวน “ เรื่อง แผน กัน หน่อย. เราทำแผน เพื่ออะไร.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
Workshop Introduction
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการให้คำแนะนำผู้ปกครอง เมื่อพัฒนาการไม่สมวัย และการส่งต่อ Intervention ขิ่ม สกุลนุ่ม, พย.ม (สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์),APN งานการพยาบาลกระตุ้นพัฒนาการเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

Figure 1.2. The relationship among potential stressors due to family characteristics, family patterns of interaction, and child developmental outcomes for children at environmental risk. (From Guralnick, M.J. [2001b]. A developmental systems model for early intervention. Infants and Young Children, 14[2], 3. Copyright © 2001 by Lippincott, Williams & Wilkins; reprinted by permission.)

วิธีการทำงานกับครอบครัว 1. เริ่มต้น จัดบรรยากาศให้เหมาะสม ศึกษาประวัติและการวินิจฉัยโรค ประเมินสภาพเด็ก อธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการ การเก็บรักษาความลับ 2. การหาข้อมูล ประเมินการรับรู้และความคาดหวัง พยายามให้ครอบครัวพูด ตั้งคำถามอย่างเหมาะสม ตั้งใจฟัง

วิธีการทำงานกับครอบครัว (ต่อ) วิธีการทำงานกับครอบครัว (ต่อ) สรุป สรุปปัญหา / ข้อตกลง / ความต้องการของครอบครัว วางแผน จบการซักประวัติและ Interview ขอบคุณครอบครัว ให้การบ้าน /เป้าหมายในการพบกันครั้งต่อไป

กระบวนการ Empowerment ถือว่าเป็นวิธีหรือเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญที่จะทำให้ผู้ป่วยหรือญาติ พัฒนาศักยภาพ ให้สามารถจัดการแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือตัวเอง โดยต้องมีการร่วมมือกันทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้เองที่บ้าน และควบคุมสิ่งต่าง ๆ เพื่อการเปลี่ยนแปลงชีวิต และสิ่งแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ได้ตามบริบทของโรคนั้น ๆ

Key Word ของการสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment) 1.การสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง 2. ตรงตามความต้องการ 3. ครอบครัวมีส่วนร่วม และ 4. สามารถกลับไปดูแลต่อได้อย่างมั่นใจ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานกับผู้ปกครอง ที่เด็กมีพัฒนาการล่าช้า

กระบวนการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม แบ่งเป็น 3 ระยะ กระบวนการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ระยะก่อนเข้าสู่โปรแกรม คือ ระยะก่อนที่เด็กจะเข้ารับบริการ ได้แก่ การส่งต่อ การค้นหา และการคัดแยก ระยะที่ 2 ระยะที่เด็กเริ่มเข้ารับการบริการ ได้แก่ การตรวจสอบ การพัฒนาแผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) หรือ แผนบริการเฉพาะครอบครัว (Individualized Family Service Plan : IFSP) การปฏิบัติการสอนและการประเมินผล ระยะที่ 3 การสิ้นสุดการรับบริการ โดยการส่งต่อไปสู่ โปรแกรมใหม่และจัดที่เรียน

ขั้นตอนการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ให้คำปรึกษา (Counseling) ครอบครัว ประเมินระดับพัฒนาการโดยใช้แบบทดสอบ วางแผนกระตุ้นพัฒนาการตามระดับพัฒนาการเด็ก โดยฝึกแต่ละขั้นตอน และสาธิตวิธีฝึกกระตุ้นให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก เพื่อนำไปฝึกที่บ้านต่อ การติดตามผลนัดมากระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ การจำหน่ายเมื่ออายุครบ 4 ปี หรือเมื่อเด็กมีความพร้อมที่จะช่วยเหลือตัวเองได้ และแนะนำด้านการศึกษาตามความสามารถของเด็ก

สิ่งที่ปกครองต้องทำ 1. จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสม เหมาะสำหรับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย 2. ส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่องทุกวัน อย่างน้อยวันละ 3 - 5 ครั้ง โดยฝึกเด็กผ่านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน หรือฝึกผ่านการเล่นกับเด็ก 3. ขณะฝึกเด็ก ผู้ปกครองควรใช้คำพูดง่าย สั้น ชัดเจนและคงที่ 4. ให้เวลาเด็กปฏิบัติตาม 3-5 วินาที ถ้าเด็กยังทำไม่ได้ ให้ผู้ปกครองพูดซ้ำ(ข้อความเดิม) พร้อมให้การช่วยเหลือเด็กจนสำเร็จ

5. ผู้ปกครองควรให้ความช่วยเหลือเด็กเท่าที่จำเป็น ลดการช่วยเหลือลงเมื่อเด็กทำได้ การช่วยเหลือของผู้ปกครอง อาจทำดังนี้         5.1 ทางกาย : จับมือทำเมื่อเด็กทำได้ ลดการช่วยเหลือลง โดยให้แตะข้อศอกของเด็กและกระตุ้นโดยใช้คำพูดให้เด็กทำ         5.2 ทางวาจา : บอกให้เด็กทราบในสิ่งที่ผู้ปกครองต้องการให้เด็กทำ         5.3 ทางท่าทาง : ผู้ปกครองชี้ให้เด็กทำ ผงกศีรษะเมื่อเด็กทำถูกต้อง ส่ายหน้าเมื่อเด็กทำไม่ถูก 6. ถ้าเด็กเกิดการเรียนรู้แล้ว ให้เปลี่ยนข้อความแบบต่างๆ แต่มีความหมายเหมือนกัน เช่น ใช้คำว่า ไม่ใช่ แทนคำว่า ไม่ถูกต้อง เป็นต้น

7. ผู้ปกครองควรให้แรงเสริมเด็กทันทีเมื่อเด็กทำได้ถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือให้ทำได้หรือเด็กทำได้เอง เช่น ยิ้ม ชมเชย ปรบมือ สัมผัส ให้ขนม แต่ควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 7.1 ให้แรงเสริมเหมาะสมกับวัยช่วงนั้นๆ 7.2 ควรให้แรงเสริมบ่อยๆ เมื่อต้องการให้เกิดทักษะหรือพฤติกรรมใหม่เกิดขึ้น 7.3 ควรลดแรงเสริมลงเมื่อเด็กทำได้แล้ว 7.4 ควรขัดขวางไม่ให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ หรือป้องกันเด็กไม่ให้ทำสิ่งที่ผิดหรือสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เช่น เด็กใช้มือปัดสิ่งของ เป็นสิ่งที่เด็กทำไม่ถูกต้อง ผู้ปกครองบอกเด็กไม่ควรทำและให้เด็กเก็บของ หลังจากนั้นเบี่ยงเบนความสนใจ หรือเพิกเฉยพฤติกรรมที่เด็กทำไม่ถูก เป็นต้น

หากถึงอายุที่ควรทำได้แต่เด็กยังทำไม่ได้ ผู้ปกครองควรให้โอกาส โดยฝึกให้ก่อน แต่ถ้าเด็กไม่มีความก้าวหน้าใน 1 เดือน ควรปรึกษาแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ขอบคุณ