โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
ชื่อผู้ติดต่อ นางสุรัสวดี เกาฏีระ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนที่ 14 อายุรกรรม. จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย SEPSIS ( ร้อยละ )
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
ระบบการรายงานข้อมูลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัด TB/HIV ในส่วนของคลินิกเอชไอวี สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
27 เมษายน 2559 จังหวัด นครราชสีมา. วัตถุประสงค์การจัดทำ รายงานวัณโรค เพื่อทราบสถานการณ์ และประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมวัณโรค ของหน่วยงาน ที่ให้บริการ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ก้าวย่างแห่งการพัฒนา
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง 2. คำสำคัญ: -
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
COMPETENCY DICTIONARY
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
การให้บริการตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าวด้วยความเป็นมิตร
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การบันทึกเพื่อส่งออก 43 แฟ้ม ข้อมูลผู้พิการ (DISABILITY)
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
สร้างเครือข่าย สร้างแกนนำ พัฒนางานสาธารณสุขในเรือนจำให้เป็นจริง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
การติดตาม (Monitoring)
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง ชื่อผู้ติดต่อ เภสัชกรพัชรมณฑน์ พัชรยุทธิ กลุ่มงาน เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โทรศัพท์ 0935764275 อีเมล์ nongnoorxxv@gmail.com

บริบท / ภาพรวม / สภาพปัญหา โรงพยาบาลเขาชัยสนเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง การดูแลผู้ป่วยวัณโรค และผู้ป่วยเอชไอวีมีคลินิกเฉพาะ โดยวัณโรคมีคลินิกวันจันทร์เช้า ผู้ป่วยเอชไอวีมีคลินิกในวันศุกร์เช้า โดยทั้งสองคลินิกให้บริการแบบ one stop service โดยมีทีมผู้ดูแลประกอบไปด้วย แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร เจ้าหน้าที่ชันสูตร

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ถ้าทำได้ขอตัวเลข 3 ปีย้อนหลัง การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ถ้าทำได้ขอตัวเลข 3 ปีย้อนหลัง ฝั่ง HIV คน (%) ฝั่ง TB จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี   จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 1. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรค (รายใหม่ CXR+ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติ ทุกครั้งที่มารพ.) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี 2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค TB/HIV จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive (คิดร้อยละต่อผู้ป่วยทั้งหมด) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive ได้รับการตรวจ CD4 (คิดร้อยละต่อผู้ป่วย HIV positive) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา(คิดต่อจำนวนผู้ป่วย HIV positive) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่จะต้องรับยา OI) ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2-8 อาทิตย์ตามเกณฑ์ประเทศ (CD4<50 ภายใน 2 สัปดาห์, CD4> 50 ภายใน 2-8 สัปดาห์ ) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน) Median CD4 ของผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี

ฝั่ง TB ปี 55 คน (%) ปี 56 คน (%) ปี 57 คน (%) ปี 58 คน (%) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี  32 34 18 13 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive (คิดร้อยละต่อผู้ป่วยทั้งหมด)

ฝั่ง HIV 2555คน (%) 2556คน (%) 2557คน (%) 2558คน (%) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนการรักษา  19 9 13 6 1. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรค (รายใหม่ CXR+ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติ ทุกครั้งที่มารพ.)  122 (100) 121 (100) 123 (100) 115 (100) 2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค  5 1 3 3. จำนวนผุ้ป่วยเอชไอวีรับยายังมีชีวิต 103 112 110 109 4. รวมผู้ป่วยเอชไอวีรับยายังมีชีวิต และผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนการรักษา 122 121 123 115

จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน 2 TB/HIV ปี 55 คน (%) ปี 56 คน (%) ปี 57 คน (%) ปี 58 คน (%) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive ได้รับการตรวจ CD4 (คิดร้อยละต่อผู้ป่วย HIV positive)  5 (100) 1 (100) 3 (100) 0 (100) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา(คิดต่อจำนวนผู้ป่วย HIV positive) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่จะต้องรับยา OI) ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2-8 อาทิตย์ตามเกณฑ์ประเทศ (CD4<50 ภายใน 2 สัปดาห์, CD4> 50 ภายใน 2-8 สัปดาห์ )  4* 0** 1 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน 2 ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน)  --- --- *ผู้ป่วยCD4 311 เริ่มกินยาวัณโรค 10/4/55และแพ้ยา Rimstar จึงทำการ Rechalence ยา เริ่มยา ARV 17/9/55 ** CD4 =340 เริ่มยาTB 8/10/55 เริ่มยา ARV 7/1/56

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ / กิจกรรมพัฒนา การมีทีมดูแลผู้ป่วยที่เข้มแข็ง การประสานงานกันของทีมดูแลผู้ป่วยเอชไอวี และทีมดูแลผู้ป่วนวัณโรค มีการประชุมร่วมกันระหว่างทีม มีเภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ ที่รับผิดชอบทั้งสองคลินิก ก็เลยง่ายในการประสานงานและดูแลผู้ป่วย

บทเรียนที่ได้รับ ผู้ป่วยทุกรายที่รับยาเอชไอวี ต้องมีการประเมิณการติดเชื้อวัณโรคจากเจ้าหน้าที่ทุกครั้งที่มารับยา เจ้าหน้าที่ที่จะมารับผิดชอบดูแลผู้ป่วยเอชไอวี จะต้องมีความรู้เรื่องวัณโรค และสามารถคัดกรองการติดเชื้อวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีได้ เจ้าหน้าที่คลินิกวัณดรคต้องมีความรู้เรื่อง เอชไอวี และสามารถให้คำปรึกษาเพื่อเจาะคัดกรองเอชไอวีได้ เจ้าหน้าที่ทั้งสองคลินิกต้องทำงานร่วมกันเพื่อช่วยกันดูแลผู้ป่วย

ประเด็นการพัฒนาต่อเนื่อง ผู้ป่วยที่มีผลเลือดบวกเอชไอวีทุกรายต้องได้รับการคัดกรอง วัณโรค ด้วยวิธี x-ray ทรวงอก และตรวจเสมหะ ในวันที่ผู้ป่วยมาฟังผลเลือด ผู้ป่วยวัณโรค ที่รับยาวัณโรคจนครบการรักษา ได้รับการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองหาเชื้อเอชไอวีในร่างกายอีกครั้ง ในวันที่ครบกำหนดการรักษาวัณโรค