การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
ชื่อผู้ติดต่อ นางสุรัสวดี เกาฏีระ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
CQI เรื่อง กระดาษบอกสิทธิ์.
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
ระบบการรายงานข้อมูลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัด TB/HIV ในส่วนของคลินิกเอชไอวี สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
ชื่อผลงาน การดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค และเอชไอ วี / เอดส์ ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ ผ่าน กิจกรรมบริการ RRTTR (Reach- Recruit -Test -Treat and Retain) แบบชุมชนเป็นฐาน.
27 เมษายน 2559 จังหวัด นครราชสีมา. วัตถุประสงค์การจัดทำ รายงานวัณโรค เพื่อทราบสถานการณ์ และประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมวัณโรค ของหน่วยงาน ที่ให้บริการ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ก้าวย่างแห่งการพัฒนา
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
ศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
COMPETENCY DICTIONARY
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การติดตาม (Monitoring)
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ขนาด 408 เตียง สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร นางสมปอง พวงแก้ว ผู้ประสานงานด้านเอดส์ ฝ่ายการพยาบาล กลุ่มงานผู้ป่วยนอก โทร 02-289-7509 E-mail : puangkaewpong@hotmial.com

รับผิดชอบ โปร่งใส ใส่ใจให้บริการ อัตลักษณ์โรงพยาบาล รับผิดชอบ โปร่งใส ใส่ใจให้บริการ มีการให้บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์อย่างครบวงจร

แนวทางดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์

ศูนย์ประสานงานด้านเอดส์ เปิดทำการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00 – 16.00 น. คลินิกสุขภาพพิเศษอายุรกรรม เปิดทำการ ทุกวันจันทร์ เวลา13.00 – 16.00 น. คลินิกวัณโรคและปอด เปิดทำการ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.00 – 16.00 น.

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 1578 ราย 1765 ราย 1883 ราย 1. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรค (รายใหม่ CXR+ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติ ทุกครั้งที่มารพ.)  100% 100% 2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค 208 ราย 251 ราย 271 ราย

จำนวนผู้ป่วยวัณโรค ปี2555 ปี 2556 ปี 2557 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 255 ราย 220 ราย 180 ราย 1. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี 100% 2. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive (คิดร้อยละต่อผู้ป่วยทั้งหมด) 66 ราย 41 ราย 35 ราย

TB/HIV ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 1. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive ได้รับการตรวจ CD4 (คิดร้อยละต่อผู้ป่วย HIV positive)  100% 100% 2. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อจำนวนผู้ป่วย HIV positive)  97.60% 98.40% 98.50% 3. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่จะต้องรับยา OI) 4. ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2-8 อาทิตย์ตามเกณฑ์ประเทศ (CD4<50 ภายใน 2 สัปดาห์, CD4> 50 ภายใน 2-8 สัปดาห์ ) 5. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน 45 ราย 49 ราย 51 ราย 6. ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน)  8.0 144.5 136 7. Median CD4 ของผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี  104.5 52.0 153

สภาพปัญหา 1. มารับบริการล่าช้า อาจเนื่องมากจากภาวะเศรษฐกิจ ขาดที่ปรึกษา กลัว ไม่กล้ามาตรวจ ขาดความรู้ความเข้าใจโรค มารับบริการแล้วเสียเวลา มาตรวจไม่ตรงแผนก 2. สิทธิการรักษาของผู้รับบริการ ไม่ตรงตามสิทธิการรักษา 3.ผู้ป่วยที่เริ่มกินยา TB แต่มีปัญหาเรื่องการแพ้ยา TB หรือกินยาไม่สม่ำเสมอ ทำให้เริ่มยาต้านไวรัสล่าช้า เป็นต้น

บทเรียนที่ไดรับ 1. มีการเชื่อมโยงบริการที่เกี่ยวเนื่องกันระหว่าง HIV/TB อย่างชัดเจน 2. มีการวัดคุณภาพและการประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 3. มีการจัดระบบการดำเนินงานที่เห็นภาพเชิงปฏิบัติได้

ประเด็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง TB/HIV 1. ให้การดูแลรักษาแบบองค์รวม 2. มีระบบการติดตามผู้ป่วยอย่างชัดเจน 3. การป้องกันดูแลรักษาผู้ป่วย TB/HIV อย่างมีประสิทธิภาพ 4. มีระบบการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลกับศูนย์บริการสาธารณสุขอย่างชัดเจน 5. มีการประสานงานระหว่างคลินิก TB/HIV เพื่อการติดตามการรักษาได้รวดเร็วขึ้น 6. พัฒนาระบบการตรวจเลือดเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว จะทำให้ผู้ป่วย TB/HIV เข้าสู่การรักษาเร็วขึ้น

ไม่ติด ไม่ตาย ไม่ตีตรา ร่วมยุติปัญหาเอดส์และเพศสัมพันธ์