ชื่อผู้ติดต่อ นางสุรัสวดี เกาฏีระ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนที่ 14 อายุรกรรม. จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย SEPSIS ( ร้อยละ )
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การติดตาม (Monitoring)
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์/TB แบบบูรณาการ โรงพยาบาลแม่สาย ชื่อผู้ติดต่อ นางสุรัสวดี เกาฏีระ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน สุขาภิบาลและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โทรศัพท์ 053- 731300 ต่อ 2402 088-2606586 E-mail wan-prom@hotmail.com

บริบท/ภาพรวม/สภาพปัญหา โรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย โรงพยาบาลชายแดนไทยพม่า ขนาด 90 เตียง จำนวนผู้ป่วย TB/HIV สูงขึ้นทุกปี ในปี 2557 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 45 ราย ร้อยละ 18.62 จำนวนผู้ป่วยต่างชาติทั้งหมด 12 ราย ร้อยละ 26.08

บริบท/ภาพรวม/สภาพปัญหา สภาพปัญหาของผู้ป่วย HIV/TB ต่างชาติ( ปี 255...) การวินิจฉัยได้ล่าช้า ส่งผลให้เสียชีวิตมากจาก Advance Stage : 5.29 % loss of FU:ไม่มีที่อยู่ ติดตามไม่ได้ : 21.92 % ขาดยา TBC/ARV เนื่องจากข้อจำกัดในการเข้าถึงยาและค่ารักษาพยาบาล การเข้าถึงยาต้านไวรัส: 78.78 % รับยาไม่ต่อเนื่อง : 18.95 % พบเชื้อดื้อยา: 1.16 % ปัญหาการสื่อสารทำให้การทำความเข้าใจเรื่องโรคเป็นเรื่องที่ยาก ระบบ Referral system ของ case ระหว่างประเทศ

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ปี 2555-2557 HIV ตัวชี้วัด ปี 2555 คน (%) ปี 2556 ปี 2557 จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 1,299 1,449 1,530 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รักการตรวจคัดกรองวัณโรค(รายใหม่ CXR + ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติทุกครั้งที่มารพ.) 1,251 1,437 1,508 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค 96.30% 99.17% 98.56%

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ปี 2555-2557 TB ตัวชี้วัด ปี 2555 คน (%) ปี 2556 ปี 2557 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 249 250 247 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี 148 112 192 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี Positive(คิดร้อยละต่อผู้ป่วยทั้งหมด ) 59.44% 44.80% 77.73%

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง ปี 2555-2557 TB/HIV ตัวชี้วัด ปี 2555 คน (%) ปี 2556 ปี 2557 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี Positive ได้รับการตรวจ CD4 (คิดร้อยละต่อผู้ป่วย HIV positive) 88.57% 84.85% 95.65% จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อจำนวนผู้ป่วย HIV positive) 84.84% 97.77% จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่จะต้องรับยา OI) 100% ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2- 8 อาทิตย์ ตามเกณฑ์ประเทศ(CD4 < 50 ภายใน 2 สัปดาห์ CD4 > 50 ภายใน 2- 8 สัปดาห์) 2 คน 12 คน จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีเสียชีวิตในปีที่ประเมิน 8 6 2 ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน) 96 97 65

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ/ กิจกรรมการพัฒนา การคัดกรองโรค: Active case finding จัดทำแผนบูรณาการ ผสมผสานงานวัณโรคและงานเอดส์โดยผู้รับผิดชอบงานเอดส์และงานวัณโรคร่วมกัน การใช้ WHO screening TB ในผู้ป่วย HIV ด้วยคำถามง่ายๆ 4 ข้อ ทุก visit ได้แก่ อาการไอผิดปกติ อาการไข้ภายใน 1 เดือน น้ำหนักลดเกิน 5 % ของน้ำหนักตัวเดิม ภายใน 1 เดือน เหงื่อออกผิดปกติตอนกลางคืน มากกว่า 3 สัปดาห์ ใน 1 เดือน ให้บริการให้คำปรึกษาและตรวจเลือดโดยวิธี provider – initiated HIV testing and counseling

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ/ กิจกรรมการพัฒนา การวินิจฉัย: Diagnosis การตรวจเสมหะ แบบ Front load การรักษา: Treatment Admit ในระยะติดต่อ การเริ่มยา ARV การให้ยา Co-trimoxazole การส่งกลับรักษาต่อเนื่องยังภาคีเครือข่าย

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ/ กิจกรรมการพัฒนา Monitoring : ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ (ADR),การเกิด IRIS จากการใช้ยาโดยเภสัชกรทุกราย อาสาสมัครชายแดน: มี DOTs พี่เลี้ยงชายแดน จัดให้มีการแจกถุงยางอนามัยในคลินิกวัณโรค จัดระบบ Referral system มีการประชุม committee ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายโรงพยาบาลท่าขี้เหล็ก ประเทศพม่าในการส่งผู้ป่วยกลับไปรักษาอย่างต่อเนื่องพร้อม ติดตามผลจนสิ้นสุดการรักษา

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ/ กิจกรรมการพัฒนา กิจกรรมในชุมชน: จัดให้มีการเยี่ยมบ้านร่วมกับอสม,ผู้นำชุมชน จัดให้มีชมรมอาสาสมัครควบคุมวัณโรคประกอบด้วยอสม.ตัวแทนในชุมชนต้นแบบได้แก่ ตำบาลแม่สาย เวียงพางคำ โป่งงาม,เกาะช้าง,โป่งผา,รพสต เพื่อเป็นผู้กำกับการกินยาให้คนไข้ในรายที่ปัญหาซับซ้อน จัดเวทีลดความรังเกียจผู้ติดเชื้อและป่วยวัณโรคในชุมชน โดยนัดประชุมกับผู้นำชุมชนและให้ความรู้เรื่องโรคและการติดต่อ

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ/ กิจกรรมการพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพการสื่อสาร มีล่ามเพื่อสื่อสารกับ ผู้รับบริการที่มีความหลากหลายของภาษาพม่าและชนกลุ่มน้อย เช่น อาข่า มูเซอร์ คะฉิ่น ไทลื้อ ในโรงพยาบาล จัดทำแผ่นพับให้ความรู้เรื่องโรค การป้องกันเป็นภาษาพม่า อบรมภาษาพม่าเบื้องต้นให้กับเจ้าหน้าที่ในคลินิก เช่น พยาบาลผู้ตรวจ เภสัชกร

กระบวนการพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ/ กิจกรรมการพัฒนา การบริการเชิงรุกในกลุ่มเป้าหมาย ชุมชนแรงงานข้ามชาติ ร่วมกับเครือข่าย NGO กับล่ามเพื่อให้สุขศึกษา แก่ คนงานในโรงงาน เช่น โรงงานกระเทียม โรงงานกระดาษสา โรงงานรองเท้า สวนส้ม บ้านพักคนงานก่อสร้างที่มีกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ในเวลาเลิกงาน จัดระบบช่องทางด่วนในโรงพยาบาลสำหรับแรงงานต่างด้าวเพื่อตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีและซิฟิลิส กลุ่มพนักงานบริการหญิง ร่วมกับกลุ่ม Empower ให้บริการความรู้,ให้คำปรึกษาและตรวจเลือด รวมถึงการตรวจคัดกรองวัณโรค

บทเรียนที่ได้รับ การบูรณาการการพัฒนาคุณภาพจะประสบความสำเร็จต้องอาศัยการทำงานกับภาคีเครือข่ายผู้ที่เข้าถึง สร้างความไว้วางใจแก่แรงงานข้ามชาติ การประสานงานระหว่างประเทศยังต้องมีการปรับระบบการติดตามผู้ป่วยเพื่อให้มั่นใจถึงการได้รับยาอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยที่ส่งกลับโดยใช้ระบบสื่อสารที่ทันสมัยให้เกิดประสิทธิภาพ การเลือกทีมทำงานที่สามารถพูดภาษาแรงงานข้ามชาติได้จะทำให้สื่อสารได้เข้าใจและเข้าถึงปัญหาที่มีความซับซ้อนเช่นในกลุ่มหญิงบริการมากขึ้นทำให้เพิ่มความสำเร็จของระบบบริการ

ประเด็นการพัฒนาต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ การบูรณาการและพัฒนาคุณภาพการบริการ โรคติดต่อชายแดนกับภาคีเครือข่ายเพื่อให้ผู้ด้อย โอกาสเช่น กลุ่มชาติพันธุ์ แรงงานข้ามชาติ ให้เข้าถึงการบริการอย่างรวดเร็ว ทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน ต้องปฎิบัติอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ภาพอบรมภาษาพม่าเบื้องต้นให้กับเจ้าหน้าที่ในคลินิก

ภาพกิจกรรมเชิงรุกให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์และวัณโรคให้กับแรงงานข้ามชาติ

ภาพกิจกรรมเชิงรุกเพื่อให้ความรู้และบริการให้คำปรึกษาและตรวจเลือด รวมถึงการตรวจภายในนอกโรงพยาบาล

ภาพกิจกรรมการส่งต่อผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ผ่านการประชุมทีมผู้ดูแลทั้งสองประเทศ (ไทย – พม่า )