การศึกษาดูงาน ห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศในประเทศไทย วันที่ ตุลาคม 2548

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

อัตราบรรจุ ข้าราชการ ๒๓๑๘ พนักงาน ราชการ ๔๔ ลูกจ้าง ๘๘ รวม ๓๐ อัตราว่าง ข้าราชการ ตำแหน่ง มาช่วย ราชการ ข้าราชการ ๒ คน ( นางอุทิศ กมโล, นายสหรัตน์ เหราบัตย์
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
งานบริการการศึกษา.
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
(Information Retrieval : IR)
 อำเภอ  จังหวัด  เขต / สลคช.  กรม / หน่วยงานภาคี  วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย  สถาบันการศึกษา  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บุคคลทั่วไป.
นางเอื้อมพร วงศ์ สวัสดิ์กุล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ.
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
แนวทางการบริหารงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประยุกต์ใช้ QR Code เพื่อการบริการสารสนเทศ
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
เมนูหลัก หน้าแรก ปรัชญา - ปณิธาน - วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ - พันธกิจ ผู้บริหาร บุคลากร ประวัติความเป็นมา การประกันคุณภาพ ทำนุบำรุง ศิลปะวัฒนธรรม แผนปฎิบัติราชการ.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
เป็นบริการขอใช้ ทรัพยากรสารสนเทศ แบบเร่งด่วน Online Quick Service เป็นบริการขอใช้ ทรัพยากรสารสนเทศ แบบเร่งด่วน Online Quick Service อยู่ระหว่างทำรายการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
โรงเรียนกับชุมชน.
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในการเข้าถึงผู้ใช้บริการห้องสมุด
การพัฒนาองค์ความรู้สถาบัน ในระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การเพิ่มสถิติการยืมหนังสือด้วยทฤษฎีการตลาดหางยาว
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาดูงาน ห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศในประเทศไทย วันที่ 12-16 ตุลาคม 2548 ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ณ สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอโดย นางสดศรี กันทะอินทร์ นางสาวรำไพ ชื่นมนุษย์

สมาชิกกลุ่ม E-Library นางนวลลออ จุลพุ์ปสาสน์ นางจินตนา สุวรรณมณี นางสาวจิราภรณ์ จันทร์คำ นางสาวระวีวรรณ บุญรอด นางสาวรำไพ ชื่นมนุษย์ นางสาววิสาข์ ทาคำส่าง นางสาวศศิประภา แสงพงษ์ชัย นางสดศรี กันทะอินทร์ นางอรุณรัตน์ พยอมไพร นางอุไร เสียงเพราะ

สามารถใช้บริการได้ที่เว็บไซต์ http://www.car.chula.ac.th สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถใช้บริการได้ที่เว็บไซต์ http://www.car.chula.ac.th

http://www.car.chula.ac.th

ฐานข้อมูลของห้องสมุด Library Catalog

ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม Thailand Union Catalog : Thai Universities OPAC

ฐานข้อมูลสาระท้องถิ่นอิเล็กทรอนิกส์ E-Local Content

ฐานข้อมูลงานวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-Research

หนังสือหายากออนไลน์ E-Text

กฤตภาคข่าวออนไลน์ : Clippings Online

ฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU Reference Databases

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : E-Journal

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : E-Journal (ต่อ)

บริการการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ : E-Learning Service http://blackboard.car.chula.ac.th/

เครือข่ายการเรียนรู้ทางไกลทั่วโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU-GDLN

วีดีโอออนดิมานด์ : Video on Demand

บริการเครือข่ายไร้สาย : CUNI@CAR

มิติใหม่ของ E-Service

ประมวลภาพการศึกษาดูงาน ณ สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลภาพการศึกษาดูงาน ณ สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-Library

บริเวณชั้น 1

บริเวณชั้น 2

บริเวณชั้น 3

บริเวณชั้น 4

บริเวณชั้น 5

บริเวณชั้น 6

ป้ายประชาสัมพันธ์และแนะนำการใช้ห้องสมุด

ข้อเสนอแนะในการศึกษาดูงาน 1. ควรนำระบบการให้บริการยืม - คืนหนังสือด้วยตนเอง Self Check มาใช้ เพื่อความสะดวกของผู้ใช้บริการที่สามารถยืม-คืนได้ด้วยตนเอง และเป็นการ ลดภาระของผู้ให้บริการโดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีผู้ใช้บริการมาก 2. ควรนำศักยภาพทางด้าน IT ของสำนักหอสมุดมาจัดการเรียนรู้สารนิเทศ (Information Literacy) ให้แก่ผู้ใช้ แบบ E-Learning ผ่านเว็บไซต์ของสำนักหอสมุด 3. ควรใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ที่สำนักหอสมุดจัดหา มาจัดบริการเชิงรุก เช่น บริการสืบค้นสารนิเทศเฉพาะสาขาวิชา บริการตรวจสอบค่า Impact Factor ของวารสารวิชาการ บริการสืบค้นการอ้างถึงผลงานวิจัย

ข้อเสนอแนะในการศึกษาดูงาน (ต่อ) ข้อเสนอแนะในการศึกษาดูงาน (ต่อ) 4. ควรมีการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักหอสมุดให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา 5. ควรมีการรวบรวมรายชื่อและจัดทำ Link ของวารสารวิชาการที่จัดทำโดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคณะ/สถาบัน/สำนัก/รวมถึงหน่วยงานต่างๆ 6. ควรมีการประชาสัมพันธ์การใช้ฐานข้อมูลให้ผู้ใช้ได้รู้จักและได้ประโยชน์ เช่น การจัดนิทรรศการแนะนำฐานข้อมูลออนไลน์สัญจรไปตามห้องสมุดคณะต่างๆ 7. ควรเพิ่มเวลาในการศึกษาดูงาน เพื่อให้มีเวลาสำหรับเดินดูสถานที่ปฏิบัติงาน ให้มากกว่านี้

ความประทับใจในการศึกษาดูงาน 1. เป็นโอกาสที่ดีที่สำนักหอสมุดได้จัดโครงการการศึกษาดูงาน เพื่อช่วยเสริมสร้าง และจุดประกายแนวคิดเพื่อพัฒนาตนเองและหน่วยงานต่อไป 2. บุคลากรต้อนรับและนำชมด้วยความเต็มใจ มี Service Mind ด้วยบรรยากาศ ที่เป็นกันเองและทำงานเพื่อองค์กร 3. มีทรัพยากรและฐานข้อมูลหลากหลายประเภทที่สามารถสนองความต้องการ ด้านการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัย และความใฝ่รู้ของประชาคมมหาวิทยาลัย อันจะนำไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติและเป็นการพัฒนาระบบ บริหารและบริการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการทุกระดับ

ความประทับใจในการศึกษาดูงาน (ต่อ) 4. การนำหนังสือหายากเข้ามาในระบบฐานข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ได้อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม ของหนังสือเก่า เสมือนได้อ่านจากต้นฉบับ 5. มีการจัดการข้อมูลที่เป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 6. สถานที่ตั้งและบรรยากาศโดยรวม มีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวาง มีป้ายข้อความสื่อสาร และแนะนำบริการผู้ใช้ภายในห้องสมุดอย่างชัดเจนและทั่วถึง 7. มีความทันสมัยของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่หลากหลาย และเอื้อต่อการใช้งาน

จบการนำเสนอ