การศึกษาดูงาน ห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศในประเทศไทย วันที่ 12-16 ตุลาคม 2548 ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ณ สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอโดย นางสดศรี กันทะอินทร์ นางสาวรำไพ ชื่นมนุษย์
สมาชิกกลุ่ม E-Library นางนวลลออ จุลพุ์ปสาสน์ นางจินตนา สุวรรณมณี นางสาวจิราภรณ์ จันทร์คำ นางสาวระวีวรรณ บุญรอด นางสาวรำไพ ชื่นมนุษย์ นางสาววิสาข์ ทาคำส่าง นางสาวศศิประภา แสงพงษ์ชัย นางสดศรี กันทะอินทร์ นางอรุณรัตน์ พยอมไพร นางอุไร เสียงเพราะ
สามารถใช้บริการได้ที่เว็บไซต์ http://www.car.chula.ac.th สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถใช้บริการได้ที่เว็บไซต์ http://www.car.chula.ac.th
http://www.car.chula.ac.th
ฐานข้อมูลของห้องสมุด Library Catalog
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม Thailand Union Catalog : Thai Universities OPAC
ฐานข้อมูลสาระท้องถิ่นอิเล็กทรอนิกส์ E-Local Content
ฐานข้อมูลงานวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-Research
หนังสือหายากออนไลน์ E-Text
กฤตภาคข่าวออนไลน์ : Clippings Online
ฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU Reference Databases
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : E-Journal
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : E-Journal (ต่อ)
บริการการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ : E-Learning Service http://blackboard.car.chula.ac.th/
เครือข่ายการเรียนรู้ทางไกลทั่วโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU-GDLN
วีดีโอออนดิมานด์ : Video on Demand
บริการเครือข่ายไร้สาย : CUNI@CAR
มิติใหม่ของ E-Service
ประมวลภาพการศึกษาดูงาน ณ สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลภาพการศึกษาดูงาน ณ สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-Library
บริเวณชั้น 1
บริเวณชั้น 2
บริเวณชั้น 3
บริเวณชั้น 4
บริเวณชั้น 5
บริเวณชั้น 6
ป้ายประชาสัมพันธ์และแนะนำการใช้ห้องสมุด
ข้อเสนอแนะในการศึกษาดูงาน 1. ควรนำระบบการให้บริการยืม - คืนหนังสือด้วยตนเอง Self Check มาใช้ เพื่อความสะดวกของผู้ใช้บริการที่สามารถยืม-คืนได้ด้วยตนเอง และเป็นการ ลดภาระของผู้ให้บริการโดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีผู้ใช้บริการมาก 2. ควรนำศักยภาพทางด้าน IT ของสำนักหอสมุดมาจัดการเรียนรู้สารนิเทศ (Information Literacy) ให้แก่ผู้ใช้ แบบ E-Learning ผ่านเว็บไซต์ของสำนักหอสมุด 3. ควรใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ที่สำนักหอสมุดจัดหา มาจัดบริการเชิงรุก เช่น บริการสืบค้นสารนิเทศเฉพาะสาขาวิชา บริการตรวจสอบค่า Impact Factor ของวารสารวิชาการ บริการสืบค้นการอ้างถึงผลงานวิจัย
ข้อเสนอแนะในการศึกษาดูงาน (ต่อ) ข้อเสนอแนะในการศึกษาดูงาน (ต่อ) 4. ควรมีการปรับปรุงเว็บไซต์ของสำนักหอสมุดให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา 5. ควรมีการรวบรวมรายชื่อและจัดทำ Link ของวารสารวิชาการที่จัดทำโดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคณะ/สถาบัน/สำนัก/รวมถึงหน่วยงานต่างๆ 6. ควรมีการประชาสัมพันธ์การใช้ฐานข้อมูลให้ผู้ใช้ได้รู้จักและได้ประโยชน์ เช่น การจัดนิทรรศการแนะนำฐานข้อมูลออนไลน์สัญจรไปตามห้องสมุดคณะต่างๆ 7. ควรเพิ่มเวลาในการศึกษาดูงาน เพื่อให้มีเวลาสำหรับเดินดูสถานที่ปฏิบัติงาน ให้มากกว่านี้
ความประทับใจในการศึกษาดูงาน 1. เป็นโอกาสที่ดีที่สำนักหอสมุดได้จัดโครงการการศึกษาดูงาน เพื่อช่วยเสริมสร้าง และจุดประกายแนวคิดเพื่อพัฒนาตนเองและหน่วยงานต่อไป 2. บุคลากรต้อนรับและนำชมด้วยความเต็มใจ มี Service Mind ด้วยบรรยากาศ ที่เป็นกันเองและทำงานเพื่อองค์กร 3. มีทรัพยากรและฐานข้อมูลหลากหลายประเภทที่สามารถสนองความต้องการ ด้านการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัย และความใฝ่รู้ของประชาคมมหาวิทยาลัย อันจะนำไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติและเป็นการพัฒนาระบบ บริหารและบริการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการทุกระดับ
ความประทับใจในการศึกษาดูงาน (ต่อ) 4. การนำหนังสือหายากเข้ามาในระบบฐานข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ได้อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม ของหนังสือเก่า เสมือนได้อ่านจากต้นฉบับ 5. มีการจัดการข้อมูลที่เป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 6. สถานที่ตั้งและบรรยากาศโดยรวม มีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวาง มีป้ายข้อความสื่อสาร และแนะนำบริการผู้ใช้ภายในห้องสมุดอย่างชัดเจนและทั่วถึง 7. มีความทันสมัยของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่หลากหลาย และเอื้อต่อการใช้งาน
จบการนำเสนอ