ระบบประเมินผลผู้บริหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการมีความพึง พอใจ ลดการใช้พลังงานของ.
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงเกี่ยวกับ.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
Draft Application Report
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
(Customer Relationship Management : CRM) โครงการตามแผนพัฒนาองค์การ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ผลการติดตามและทบทวนแผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การดำเนินงานต่อไป.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประเมินผลผู้บริหาร การนำองค์การ กำหนดทิศทางองค์การ สื่อสารสร้างความรู้ LD1 วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง One way communication Two way communication สร้างบรรยากาศ LD2 มอบอำนาจ การเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ LD3 รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม (ผลกระทบทางลบ) ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์การ(ควบคุมภายใน/ความเสี่ยง/ตรวจสอบภายใน) ผู้ปฏิบัติงาน LD6 LD7 การกำกับดูแลองค์การที่ดี LD5 ทบทวนผลการดำเนินงาน จัดลำดับความสำคัญ ปรับปรุงทั่วทั้งองค์การ LD4 กำหนด KPI สำคัญ ระบบติดตามประเมินผล ระบบประเมินผลผู้บริหาร

OFI หมวด 1 LD 1 LD 2 LD 3 LD 4 LD 5 LD 6 LD 7 ควรมีการกำหนดแนวทาง / flow chart ในการกำหนดทิศทางขององค์การที่ชัดเจน ควรมีการปรับปรุงระบบการสื่อสารทิศทางขององค์การให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น(กลุ่มเป้าหมาย, ช่องทาง, ความถี่, ผู้รับผิดชอบ) LD 2 ควรมีการจัดทำแนวทาง / flow chart ในการมอบอำนาจไปสู่บุคลากรที่ชัดเจน มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน LD 3 ควรมีแนวทางการส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจอย่างชัดเจน LD 4 ควรมีแนวทางในการกำหนด KPI ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ควรมีการจัดทำ cockpit room ในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกรม LD 5 ควรมีการปรับปรุงด้านคุณภาพในขั้นตอนการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีและการติดตามกำกับผลการดำเนินงาน ควรมีการปรับปรุงระบบการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น LD 6 ควรมีการพัฒนาระบบการติดตาม กำกับ และประเมินผลระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น LD 7 -ควรมีการดำเนินการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคมอันเป็นผลมาจากการดำเนินการของกรมอนามัย

แผนพัฒนาองค์การปี 2553 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารกรมอนามัยทราบ ตระหนักและให้ความสำคัญกับบทบาทในการนำองค์การ เพื่อกำหนด/พัฒนาแนวทางปฏิบัติของผู้บริหารเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการนำองค์การ เพื่อประเมินผลระบบการนำองค์การของกรมอนามัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

แนวทางการบริหารงานสำหรับผู้บริหาร กรมอนามัย ประกอบด้วย การกำหนดทิศทางขององค์กร การสื่อสารทิศทางขององค์กร การมอบอำนาจการตัดสินใจ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การกำหนด ติดตาม กำกับและทบทวนตัวชี้วัดที่สำคัญ การกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี การพัฒนาระบบควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน การกำหนดมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการทำงานตามภารกิจ

กิจกรรมหลัก จัดทำแนวปฏิบัติ "ผู้บริหารกรมอนามัยกับระบบการนำองค์การ" การสื่อสาร จัดประชุมเพื่อทำ Work Instruction ของระบบการนำองค์การกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน process owner จัดทำแผนพัฒนาให้เป็นไปตาม Work Instruction เพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัดที่กำหนด หน่วยงาน process owner ดำเนินการตามแผนพัฒนาให้เป็นไปตาม Work Instruction เพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัดที่กำหนด ติดตามกำกับการดำเนินงานตาม Work Instruction ของ process owner ในแต่ละประเด็นเรื่อง (3 ครั้ง) ในเดือน เม.ย. 53, มิ.ย. 53 และ ก.ย. 53 (เจ้าภาพทั้ง 8 ประเด็นรายงานผลการดำเนินงานต่อกรมอนามัยตามระยะเวลาที่กำหนด) การประชุมผู้บริหารเพื่อประเมินผลระบบการนำองค์การ

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ KPI มิติ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ KPI ด้านประสิทธิผล 1. ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามการบริหารงาน ด้านคุณภาพการให้บริการ 2. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการนำองค์การของผู้บริหาร 3. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อนโยบายและโครงการในการกำกับดูแลองค์กรที่ดี ด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ 4. ร้อยละของการมอบอำนาจในเรื่องที่สำคัญที่นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 5. มีการกำหนดมาตรการจัดการผลกระทบทางลบ ด้านการพัฒนาองค์กร 6. ร้อยละของบุคลากรที่รับรู้และเข้าใจวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว และผลการดำเนินการที่ คาดหวัง 7. ร้อยละของผู้บริหารที่รับรู้ เข้าใจแนวปฏิบัติ “ผู้บริหารกรมอนามัยกับระบบการนำองค์การ” และสามารถนำไปปฏิบัติได้