เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
Advertisements

ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
คลินิกวัยรุ่น YFHS : แนวทางการดำเนินงานและมาตรฐาน
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 รอบที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
1. Establish Sense of Urgency สร้างความตระหนัก
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
สรุปผลการดำเนินงานตาม PA
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
บุคลากรในรพ.รพ.แห่งละ 5 คน
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล (ตัวชี้วัดศูนย์อนามัยที่ 1-12) เจ้าภาพ : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1

สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ตัวชี้วัดที่ 1.3 จำนวนของรพ.สป.ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้รพ.จัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข : รพช. รพ.สมเด็จพระยุพราช รพ.ทั่วไป และรพ.ศูนย์ ที่เข้าร่วมโครงการ และผ่านการอบรมเพื่อการจัดตั้งคลินิกวัยรุ่น มีจำนวน 855 แห่ง โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ : รพ.มีการจัดบริการ “คลินิกวัยรุ่น” ตามองค์ประกอบของมาตรฐาน 4 องค์ประกอบ คือ 1)การบริหารจัดการ 2)การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการสร้างความต้องการในการใช้บริการ 3) บริการที่ครอบคลุมความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4)ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น และผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 2 ในทุกองค์ประกอบ 2 2

มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เริ่มจากปีพ.ศ.2549-2551 กรมอนามัยได้จัดทำโครงการพัฒนาบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ นำแนวคิดของ Adolescent Friendly Health Services (AFHS) ตามแนวทางของWHO และนำไปให้โรงพยาบาลศูนย์ รพท.และรพช.และ รพ.สังกัดกรมอนามัยรวม 12 แห่ง ทดลองใช้และขยายการใช้ต่อภายใต้โครงการวัยเรียนวัยใสอนามัย ดี๊ ดี ที่เป็นการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ อนามัยการเจริญพันธุ์ ทันตสุขภาพ และโภชนาการ ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)สนับสนุนงบประมาณ ปี2552 การจัดทำมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS ) ที่ได้รับความร่วมมือจากกรมสุขภาพจิต และกรมควบคุมโรค ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองและการพัฒนาโรงพยาบาลในการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และมีการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรสำหรับโรงพยาบาล สังกัด สป. ใน 76 จังหวัด และเริ่มมีการเยี่ยมพัฒนาและประเมินโรงพยาบาลตามแนวทางมาตรฐานYFHS ในปี 2555 จนถึงปัจจุบัน 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลากรผู้ให้บริการ

บทบาทการดำเนินงานของกรมวิชาการในส่วนกลาง 1) เป็นกรรมการประเมินและรับรอง YFHS ระดับกรม 2) สุ่มเยี่ยมประเมิน YFHS ฉบับบูรณาการร่วมกัน 3 กรม 3) สนับสนุนการประเมินYFHS โดยจัดทีมร่วมประเมินฯ ตามการร้องขอ(สอวพ. / สำนักส่งเสริมและพัฒนาจิต ฯ / สถาบันสุขภาพจิตเด็ก ฯ / สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 4)เป็นที่ปรึกษาในการประเมินรับรองYFHS 5) เสนอผลการประเมินรับรองYFHS เพื่อให้ปลัดกระทรวงลงนามในหนังสือแจ้งผลประเมิน

บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อนามัย สคร บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อนามัย สคร. ศูนย์สุขภาพจิต ตามมาตรการ การจัดบริการที่เป็นมิตรในสถานบริการ 1. ชี้แจงและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน(สคร. ศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์อนามัย สสจ. รพ.ในเขตรับผิดชอบ) 2. เยี่ยมประเมินYFHS ฉบับบูรณาการร่วมกัน 3. สรุปผลการประเมินYFHS เสนอกรรมการประเมินและ รับรองส่วนกลาง 4. นิเทศติดตามการดำเนินงาน และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในพื้นที่

ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด พัฒนาคุณภาพบริการตามคู่มือแนวทางคลินิกวัยรุ่นและมาตรฐานYFHS (ฉบับบูรณาการ) โรงพยาบาล ประเมินตนเอง รพ. ที่พร้อม(คะแนน>/= 2.0 ) แจ้งความประสงค์ไปยัง สสจ.พร้อมส่งแบบประเมินตนเอง เยี่ยมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของโรงพยาบาลตามมาตรฐาน ฯ ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด ผ่าน 2.0 ขึ้นไป ไม่ผ่าน รายงานผลให้คณะกรรมการประเมิน ฯ ระดับเขต คณะกรรมการประเมินและรับรองระดับเขต เยี่ยมสำรวจและประเมินโรงพยาบาลที่ผ่านระดับ 2.0 ขึ้นไปเพื่อการ พิจารณาตัดสินและรับรองในระดับเขต รายงานผลการประเมินและรับรองมายังส่วนกลาง คณะกรรมการประเมินและรับรอง ส่วนกลาง พิจารณาและสรุปผลการประเมินรับรอง นำเสนอผลการประเมินรับรอง ฯ เสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ความเห็นชอบ และลงนาม เพื่อแจ้งผลการประเมินให้จังหวัดและโรงพยาบาลทราบ กระทรวงสาธารณสุข ดำเนินการมอบเกียรติบัตร และโล่ยกย่องเชิดชูเกียรติปีละครั้ง

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย หน่วยงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด ผลงานปี 2557 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 855 408 แห่ง(47.72%) 342 385 428 470 513 ศูนย์อนามัยที่ 1 37 17 แห่ง (45.94%) 16 19 22 25 28 ศูนย์อนามัยที่ 2 33 16 แห่ง (48.48%) 18 23 26 ศูนย์อนามัยที่ 3 71 28 แห่ง (39.43%) 31 34 43 ศูนย์อนามัยที่ 4 67 30 แห่ง (44.77%) 32 35 38 41 ศูนย์อนามัยที่ 5 79 60 แห่ง (75.94%) 54 57 63 66 ศูนย์อนามัยที่ 6 117 66 แห่ง (56.41%) 69 72

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย หน่วยงาน จำนวน รพ. ทั้งหมด ผลงาน ปี 2557 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศูนย์อนามัยที่ 7 101 56 แห่ง(55.44%) 50 53 56 59 62 ศูนย์อนามัยที่ 8 52 12 แห่ง (23.07%) 19 23 26 29 32 ศูนย์อนามัยที่ 9 46 21 แห่ง (45.65%) 16 22 25 28 ศูนย์อนามัยที่ 10 58 แห่ง (58.00%) 54 57 63 66 ศูนย์อนามัยที่ 11 75 25 แห่ง (33.33%) 33 36 39 42 45 ศูนย์อนามัยที่ 12 77 19 แห่ง (24.67%) 34 38 41 44 47

หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1. สรุปการประชุมชี้แจงแผน และขั้นตอนแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพทีมผู้ประเมินของศูนย์อนามัย สคร. และศูนย์สุขภาพจิต 2. ข้อมูลรายงานผลการเยี่ยมประเมินรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ และการรายงานผลของศูนย์อนามัยตามรายไตรมาส 3. หนังสือราชการ แจ้งผลการเยี่ยมประเมินรับรองให้จังหวัด และโรงพยาบาล 9

Q&A 10