การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P ค่าตอบแทนกำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข เงินบำรุง พ.ศ. 2544 เงินงบประมาณ ระเบียบข้อ 9 ข้อบังคับ ตามระเบียบเงินบำรุง ข้อ 9 (2) ให้ปลัด กสธ. กำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน จึงได้ประกาศ ข้อบังคับค่าตอบแทนฯ พ.ศ. 2544 ใช้ตั้งแต่ 1 พ.ย. 2544 โดยกำหนดหลักเกณฑ์แนบท้ายข้อบังคับฯ 1. เงินเดือน - ตามบัญชีอัตราเงินเดือน ข้าราชการพลเรือน หมวดงบประมาณ งบบุคลากร 1) การปฏิบัติการ หน่วยบริการอื่น 2) ค่าตอบแทน 3) บริการทางการแพทย์ 4) ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว 5) ซ่อมแซมต่อเติมบ้านพัก 6) ซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง เงินบำรุงทั่วไป เพื่อปฏิบัติ ราชการของ หน่วยบริการ เงินบำรุงจาก UC สร้างเสริม ระบบบริการ คุ้มครอง สุขภาพ 2. เงินประจำตำแหน่ง - ตามพระราชกฤษฎีกา เงินประจำตำแหน่ง ตามอัตรา ระดับตำแหน่ง หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 1) ตาม ว 338 ปี 2544 หลักเกณฑ์แนบท้ายข้อบังคับฯ พ.ศ. 2544 ค่าตอบแทน 8 ประเภท 1. ค่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่, 2. ค่าปฏิบัติงานในคลินิกพิเศษ นอกเวลาราชการ, 3. ค่าปฏิบัติงานเวรบ่ายดึกของพยาบาล, 4. ค่าชันสูตรพลิกศพ, 5. ค่าแพทย์สาขาส่งเสริมพิเศษ, 6. ค่าเบี้ยเลี้ยง เหมาจ่าย, 7. ค่าไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว 8. ค่าปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพและเวชปฏิบัติครอบครัว 3. เงินค่าตอบแทนกำลังคน ด้านสาธารณสุข ตามมติ ครม. เมื่อ 3 พ.ค. 2548 กำหนดค่าตอบแมนเป็น 2 ประเภท : 1. ค่าตอบแทนเงินเพิ่มพิเศษสำหรับ ตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงาน ด้านการสาธารณสุข (เบิกจ่ายตามระเบียบ ก.พ. ซึ่งกำหนดอัตรา ค่าตอบแทนรายเดือน สำหรับแพทย์ 5,000- 15,000 บาท, ทันตแพทย์ 5,000-10,000 บาท, เภสัชกร 1,500-3,000 บาท, พยาบาลวิชาชีพ 1,000-2,000 บาท และสหสาขาวิชาชีพ 1,000 บาท) (สหสาขา : เทคนิคการแพทย์, กายภาพบำบัด, รังสีการแพทย์, แก้ไขความผิดปกติการสื่อความหมาย, กิจกรรมบำบัด, จิตวิทยาคลินิก และ เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก) 2. ค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายสำหรับ กำลังคนด้านสาธารณสุขที่ปฏิบัติงาน ในพื้นที่พิเศษ (เบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงการคลัง) จำแนกเป็น 2 กลุ่ม - แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานสถานบริการตามที่กำหนดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อัตรารายเดือน แพทย์, ทันตแพทย์ 10,000 บาท, เภสัชกร 5,000 บาท และพยาบาลวิชาชีพ 1,000 บาท - แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ที่ปฏิบัติงาน ใน รพช. และสถานบริการระดับอำเภอ ตามเกณฑ์ และคณะกรรมการกำหนด โดยต้องปฏิบัติงาน เกินกว่า 3 ปี อัตรารายเดือน แพทย์, ทันตแพทย์ 2,800 บาท และเภสัชกร 600 บาท หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 2) ตาม ว 153 ปี 2548 เป็นการประกาศแก้ไขหลักเกณฑ์ วิธีการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนประเภท 7. ค่าไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว (อัตรารายเดือน แพทย์ ทันตแพทย์ 10,000 บาท เภสัชกร 5,000 บาท หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 3) ตาม ว 181 ปี 2549 เป็นการประกาศแก้ไขหลักเกณฑ์ วิธีการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนประเภท 6. ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย โดยตัดเงื่อนไข รพช. เกิน 60 เตียง และมีแพทย์เกิน 6 คน จากเดิมที่ไม่ได้รับออก (อัตรารายเดือน แพทย์ ทันตแพทย์ 2,200 บาท และเภสัชกร 1,900 บาท) หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 4) ตาม ว 994 ปี 2551 เป็นการประกาศแก้ไขหลักเกณฑ์ วิธีการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนประเภท 6. ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย โดยปรับเพิ่มอัตราและกำหนดตามความแตกต่างระหว่างขนาด รพช., ความทุรกันดาร และระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน (อัตรารายเดือน แพทย์ ทันตแพทย์ ตั้งแต่10,000-70,000 บาท, เภสัชกร 3,000-16000 บาท พยาบาลวิชาชีพ ใน รพช. ทุรกันดาร 1,500-4,500 บาท และพยาบาลวิชาชีพในสถานีอนามัยทุรกันดาร 3,000 บาท) หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 5) ตาม ว 100 ปี 2552 เป็นการประกาศแก้ไขหลักเกณฑ์ วิธีการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนโดยปรับฐานอัตราค่าตอบแทนเพิ่มขึ้น สำหรับค่าตอบแทน : 1. ค่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (ค่า OT) ปรับเพิ่ม 20% 2. ค่าปฏิบัติงานในคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ เพิ่ม 20% 3. ค่าปฏิบัติงานเวรบ่ายดึกของพยาบาล เพิ่ม 20 % 4. ค่าชันสูตรพลิกศพ ตามระเบียบ ก. ยุติธรรม 5. ค่าแพทย์สาขาส่งเสริมพิเศษ ให้ระดับพื้นที่กำหนดสาขาตามความขาดแคลน เพิ่มอัตรารายเดือนเป็น 5,000 บาท 8. ค่าปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพและเวชปฏิบัติครอบครัว การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย ตามผลการปฏิบัติงาน Pay per performance : P4P หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 6) ตาม ว 156 ปี 2552 ประกาศเพิ่มหลักเกณฑ์ ค่าตอบแทนประเภท 9. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย โดยกำหนดค่าตอบแทนสำหรับพยาบาลวิชาชีพ ใน รพช. พื้นที่ปกติ และเจ้าหน้าที่อื่นที่ปฏิบัติงานใน รพช. และ สอ. กำหนดอัตราตามความแตกต่างระหว่างระยะเวลาที่ปฏิบัติงานและวุฒิการศึกษา (อัตรารายเดือน ปริญญาขึ้นไป อัตรา 1,200-1,800 บาท และต่ำกว่าปริญญา 600-900 บาท) ระยะ 1 พัฒนาแนวคิด หลักเกณฑ์ตั้งแต่ปี 2546 นำร่องดำเนินการที่แรก รพ. พาน เชียงราย และขยายต่อไปที่ รพ. สูงเนิน นครราชสีมา ระยะ 2 ประเมินผล+สรุปบทเรียน และพัฒนาขยายผล 10 รพ. ทั้ง รพศ. รพท และ รพช. มีทีมวิชาการจากส่วนกลางสนับสนุนการพัฒนาเกณฑ์กลางและเกณฑ์ย่อยราย รพ. หลักเกณฑ์ (ฉบับที่ 7) ตาม ว 662 ปี 2552 ประกาศเพิ่มหลักเกณฑ์ ค่าตอบแทนประเภท 10. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ระยะ 3 พัฒนาขยายผลให้ครอบคลุมมากขึ้น ตามนโยบาย กสธ. ทุกแห่งในปี 2554