Entity-Relationship Model E-R Model

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ดูแบบได้ ที่หน้า 2 เป็นต้นไป
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
ดูแบบได้ ที่หน้า 2 เป็นต้นไป
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กรอกข้อมูลขอรับใบเสนอราคา ( หมวกคุณภาพดี ) ชื่อ ……………………………… นามสกุล ………………………………… ชื่อร้าน เบอร์โทร ………………………… แฟกซ์ …………………………. อีเมล์
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิชา เขียนแบบไฟฟ้า รหัส ท-ป-น (0-4-2)
Database Management System
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
Entity-Relationship Model
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Entity – Relationship Model
การทำ Normalization 14/11/61.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Entity-Relationship Model E-R Model แบบจำลองอี-อาร์ Entity-Relationship Model E-R Model

แบบจำลองอี-อาร์ โมเดลข้อมูลแบบ E-R (Entity-Relationship Model) เป็น โมเดลข้อมูลเชิงความคิดที่ได้รับความนิยม ซึ่งเป็นโมเดลที่ถูกแนะนำโดย Peter Chen ในปี 1979 วัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอโครงสร้างของฐานข้อมูลในระบบแนวความคิดในลักษณะแผนภาพ (diagram) โดยเน้นโครงสร้างที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ สามารถมองเห็นภาพรวมของเอนทิตี้ทั้งหมดในระบบ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้เหล่านนั้นด้วย

องค์ประกอบของโมเดลแบบ E-R 1) เอนทิตี้ (Entity) 2) แอททริบิวท์ (Attribute) 3) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Relationship)

คำนาม สัญลักษณ์คือ เอนทิตี้ (Entity) คำว่า เอนทิตี้(Entity) หมายถึงสิ่งต่างๆ(Things) หรือวัตถุ (Objects) ที่ถูกรวบรวมเป็นข้อมูล เพื่อใช้กับระบบงานที่กำลังพัฒนาอยู่ เอนทิตี้อาจเป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรม คือ สามารถมองเห็นได้ด้วยและจับต้องได้ หรือ อยู่ในรูปของนามธรรม คือไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา ได้แก่ เอนทิตี้เชิงแนวความคิด(concept) และเอนทิตี้เชิงเหตุการณ์(Event) คำนาม สัญลักษณ์คือ

ตัวอย่างของเอนทิตี้ที่มีอยู่ในระบบงานต่างๆ ตัวอย่างเอนทิตี้ รูปธรรม นามธรรม ระบบทะเบียนนักศึกษา นักศึกษา, อาจารย์, อาคารเรียน วิชา, คณะ, การลงทะเบียน ระบบสินค้าคงคลัง ลูกค้า, ผู้ผลิต, คลังสินค้า สินค้า การซื้อ,การขาย ,สินค้าคงเหลือ ระบบยืม-คืนหนังสือ สมาชิก ,หนังสือ รายการยืม, รายการคืน

ระบบการลงทะเบียน ประกอบด้วย Entity รายวิชา นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียนประจำเทอม สาขาวิชา คณะ

ในอี-อาร์ไดอะแกรม ใช้สัญลักษณ์รูปวงรี แทนหนึ่งแอตทริบิวต์ โดยใช้คำนามเป็นชื่อ แอตทริบิวต์นั้นๆ กำกับอยู่ภายใน คำนาม

แอตทริบิวต์ (attribute) คือ คุณสมบัติต่างๆ ของเอนทิตีที่เราต้องการจัดเก็บในฐานข้อมูล

เช่น Entity นักศึกษา ประกอบด้วย Attribute หรือสิ่งที่บ่งบอกคุณสมบัติของนักศึกษาดังต่อไปนี้ - รหัสนักศึกษา - ชื่อ - นามสกุล - ที่อยู่ - เบอร์โทรศัพท์

เอนทิตีวิชา ประกอบไปด้วย Attribute รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต

เอนทิตี บัตรประชาชนประกอบไปด้วย Attribute หมายเลขบัตรประชาชน ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ภูมิลำเนา วันที่ออกบัตร วันที่บัตรหมดอายุ ส่วนสูง น้ำหนัก กรุ๊ปเลือด

เอนทิตีพนักงาน เอนทิตีสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคา จำนวน 1.รหัสพนักงาน 2. ชื่อ นามสกุล 3. ที่อยู่ 4. เบอร์โทรศัพท์ 5. สถานภาพสมรส 6.เงินเดือน เอนทิตีสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคา จำนวน

การแสดงองค์ประกอบของตารางในฐานข้อมูล ตารางนักศึกษา

ประเภทของความสัมพันธ์ (Relationship) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของเอนทิตี้ทั้งสอง ประกอบไปด้วย ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง ต่อ หนึ่ง (one to one) ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง ต่อ กลุ่ม ( one to many) ความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม ต่อ กลุ่ม (many to many)

โดยในอี-อาร์ไดอะแกรมใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ที่มีชื่อของความสัมพันธ์นั้นกำกับอยู่ภายใน และเชื่อมต่อกับเอนทิตี้ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ด้วยเส้นตรง

ชนิดของความสัมพันธ์ One-to-One (1:1) ความสัมพันธ์แบบ 1 ต่อ 1

สูติบัตรได้เพียงใบเดียวเท่านั้น 1 1 นักศึกษา สูติบัตร นักศึกษาหนึ่งคนจะมี สูติบัตรได้เพียงใบเดียวเท่านั้น

สูติบัตรหนึ่งใบเป็นของ นักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน 1 1 นักศึกษา สูติบัตร สูติบัตรหนึ่งใบเป็นของ นักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน

1 : 1 1 1 นักศึกษา สูติบัตร 1 1 สูติบัตร นักศึกษา

One-to-many (1:M) ความสัมพันธ์แบบ 1 ต่อหลายข้อมูล

ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ 1 M ลูกค้า ใบเสร็จ ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ เนื่องจากลูกค้าหนึ่งคนอาจมาซื้อสินค้าหลายครั้ง

ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของ ลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น 1 1 ลูกค้า ใบเสร็จ ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของ ลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น สำหรับการซื้อสินค้าแต่ละครั้ง

1 : M 1 M ใบเสร็จ ลูกค้า 1 1 ลูกค้า ใบเสร็จ

Many-to-many (M:N) N ความสัมพันธ์แบบหลายข้อมูล ต่อหลายข้อมูล

สามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายวิชา 1 M นักศึกษา วิชา นักศึกษาหนึ่งคน สามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายวิชา

วิชาหนึ่งวิชามีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนหลายคน M 1 วิชา นักศึกษา วิชาหนึ่งวิชามีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนหลายคน

M : M 1 M นักศึกษา วิชา M 1 นักศึกษา วิชา M : N

แผนก พนักงาน คณะ โปรแกรมวิชา แบบฝึกหัดทบทวนให้นักศึกษาเขียน E-R Diagram ระหว่าง 2 Entity ต่อไปนี้ กำหนดชนิดความสัมพันธ์และแอททริบิวท์ แผนก พนักงาน คณะ โปรแกรมวิชา

นักศึกษา ทุนการศึกษา นักศึกษา คณะ พนักงานขาย ใบเสร็จ ประชาชน อาชีพ

สมาชิก บัตรสมาชิก จังหวัด สถานที่ท่องเที่ยว