Entity-Relationship Model E-R Model แบบจำลองอี-อาร์ Entity-Relationship Model E-R Model
แบบจำลองอี-อาร์ โมเดลข้อมูลแบบ E-R (Entity-Relationship Model) เป็น โมเดลข้อมูลเชิงความคิดที่ได้รับความนิยม ซึ่งเป็นโมเดลที่ถูกแนะนำโดย Peter Chen ในปี 1979 วัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอโครงสร้างของฐานข้อมูลในระบบแนวความคิดในลักษณะแผนภาพ (diagram) โดยเน้นโครงสร้างที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ สามารถมองเห็นภาพรวมของเอนทิตี้ทั้งหมดในระบบ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้เหล่านนั้นด้วย
องค์ประกอบของโมเดลแบบ E-R 1) เอนทิตี้ (Entity) 2) แอททริบิวท์ (Attribute) 3) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Relationship)
คำนาม สัญลักษณ์คือ เอนทิตี้ (Entity) คำว่า เอนทิตี้(Entity) หมายถึงสิ่งต่างๆ(Things) หรือวัตถุ (Objects) ที่ถูกรวบรวมเป็นข้อมูล เพื่อใช้กับระบบงานที่กำลังพัฒนาอยู่ เอนทิตี้อาจเป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรม คือ สามารถมองเห็นได้ด้วยและจับต้องได้ หรือ อยู่ในรูปของนามธรรม คือไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา ได้แก่ เอนทิตี้เชิงแนวความคิด(concept) และเอนทิตี้เชิงเหตุการณ์(Event) คำนาม สัญลักษณ์คือ
ตัวอย่างของเอนทิตี้ที่มีอยู่ในระบบงานต่างๆ ตัวอย่างเอนทิตี้ รูปธรรม นามธรรม ระบบทะเบียนนักศึกษา นักศึกษา, อาจารย์, อาคารเรียน วิชา, คณะ, การลงทะเบียน ระบบสินค้าคงคลัง ลูกค้า, ผู้ผลิต, คลังสินค้า สินค้า การซื้อ,การขาย ,สินค้าคงเหลือ ระบบยืม-คืนหนังสือ สมาชิก ,หนังสือ รายการยืม, รายการคืน
ระบบการลงทะเบียน ประกอบด้วย Entity รายวิชา นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียนประจำเทอม สาขาวิชา คณะ
ในอี-อาร์ไดอะแกรม ใช้สัญลักษณ์รูปวงรี แทนหนึ่งแอตทริบิวต์ โดยใช้คำนามเป็นชื่อ แอตทริบิวต์นั้นๆ กำกับอยู่ภายใน คำนาม
แอตทริบิวต์ (attribute) คือ คุณสมบัติต่างๆ ของเอนทิตีที่เราต้องการจัดเก็บในฐานข้อมูล
เช่น Entity นักศึกษา ประกอบด้วย Attribute หรือสิ่งที่บ่งบอกคุณสมบัติของนักศึกษาดังต่อไปนี้ - รหัสนักศึกษา - ชื่อ - นามสกุล - ที่อยู่ - เบอร์โทรศัพท์
เอนทิตีวิชา ประกอบไปด้วย Attribute รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิต
เอนทิตี บัตรประชาชนประกอบไปด้วย Attribute หมายเลขบัตรประชาชน ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ภูมิลำเนา วันที่ออกบัตร วันที่บัตรหมดอายุ ส่วนสูง น้ำหนัก กรุ๊ปเลือด
เอนทิตีพนักงาน เอนทิตีสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคา จำนวน 1.รหัสพนักงาน 2. ชื่อ นามสกุล 3. ที่อยู่ 4. เบอร์โทรศัพท์ 5. สถานภาพสมรส 6.เงินเดือน เอนทิตีสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคา จำนวน
การแสดงองค์ประกอบของตารางในฐานข้อมูล ตารางนักศึกษา
ประเภทของความสัมพันธ์ (Relationship) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของเอนทิตี้ทั้งสอง ประกอบไปด้วย ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง ต่อ หนึ่ง (one to one) ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง ต่อ กลุ่ม ( one to many) ความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม ต่อ กลุ่ม (many to many)
โดยในอี-อาร์ไดอะแกรมใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ที่มีชื่อของความสัมพันธ์นั้นกำกับอยู่ภายใน และเชื่อมต่อกับเอนทิตี้ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ด้วยเส้นตรง
ชนิดของความสัมพันธ์ One-to-One (1:1) ความสัมพันธ์แบบ 1 ต่อ 1
สูติบัตรได้เพียงใบเดียวเท่านั้น 1 1 นักศึกษา สูติบัตร นักศึกษาหนึ่งคนจะมี สูติบัตรได้เพียงใบเดียวเท่านั้น
สูติบัตรหนึ่งใบเป็นของ นักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน 1 1 นักศึกษา สูติบัตร สูติบัตรหนึ่งใบเป็นของ นักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน
1 : 1 1 1 นักศึกษา สูติบัตร 1 1 สูติบัตร นักศึกษา
One-to-many (1:M) ความสัมพันธ์แบบ 1 ต่อหลายข้อมูล
ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ 1 M ลูกค้า ใบเสร็จ ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ เนื่องจากลูกค้าหนึ่งคนอาจมาซื้อสินค้าหลายครั้ง
ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของ ลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น 1 1 ลูกค้า ใบเสร็จ ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของ ลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น สำหรับการซื้อสินค้าแต่ละครั้ง
1 : M 1 M ใบเสร็จ ลูกค้า 1 1 ลูกค้า ใบเสร็จ
Many-to-many (M:N) N ความสัมพันธ์แบบหลายข้อมูล ต่อหลายข้อมูล
สามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายวิชา 1 M นักศึกษา วิชา นักศึกษาหนึ่งคน สามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายวิชา
วิชาหนึ่งวิชามีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนหลายคน M 1 วิชา นักศึกษา วิชาหนึ่งวิชามีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนหลายคน
M : M 1 M นักศึกษา วิชา M 1 นักศึกษา วิชา M : N
แผนก พนักงาน คณะ โปรแกรมวิชา แบบฝึกหัดทบทวนให้นักศึกษาเขียน E-R Diagram ระหว่าง 2 Entity ต่อไปนี้ กำหนดชนิดความสัมพันธ์และแอททริบิวท์ แผนก พนักงาน คณะ โปรแกรมวิชา
นักศึกษา ทุนการศึกษา นักศึกษา คณะ พนักงานขาย ใบเสร็จ ประชาชน อาชีพ
สมาชิก บัตรสมาชิก จังหวัด สถานที่ท่องเที่ยว