8311412 เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
Advertisements

บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ระบบโทรคมนาคม.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
โทรทั ศน์ วิทยุ หนังสือพิม พ์ เว็บไซ ต์ ข่าว เผยแพร่ กิจกรรม อื่นๆ.
สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน ตุลาคม กันยายน 2555.
สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
ช่องทางการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
สรุปการรายงานผลการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือนพฤษภาคม 2555
กลุ่มประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
Page 1 สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน เมษายน 2555.
สรุปการรายงานผลการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2555
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สิ่งที่ได้จากการ เรียนรู้ วิชาโปรแกรมประยุกต์. เสนอ อาจารย์ สมร ตาระ พันธ์
(กล้องจับที่วิทยากร)
การสื่อสารข้อมูล.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
ครูสุนทร ยี่สุ้น จบการศึกษา : วิศวคอมพิวเตอร์ Website : 1.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย. สัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ อนาล็อก (ANALOG) สัญญาณมีความต่อเนื่อง ถูกรบกวนได้ง่าย มี Noise มาก.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การดำเนินกิจการขององค์กรวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 11 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networking)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND

การบรรยายครั้งที่ 2 พื้นฐานระบบสื่อสารไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND

ภาพรวมของระบบสื่อสารในปัจจุบัน  Convergence (Internet + Television + Telephone + Radio + etc.)

องค์ประกอบของระบบสื่อสารอย่างง่ายๆ  ระบบสื่อสารข้อมูลอย่างง่าย ๆ จะประกอบด้วยระบบย่อย 3 ระบบดังต่อไปนี้

ฟังก์ชันการทำงานของระบบย่อยต่าง ๆ  Source System : เป็นระบบย่อยที่ทำหน้าที่ในการสร้างข้อมูลต่าง ๆ และเป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล  Transmission System : เป็นระบบย่อยที่มีหน้าที่ในการนำข้อมูล จากต้นทางไปยังปลายทาง  Destination System : เป็นระบบย่อยที่มีหน้าที่ในการรับข้อมูลต่าง ๆ  Noise : สัญญาณรบกวนต่าง ๆ

องค์ประกอบของระบบสื่อสารอย่างง่ายๆ  ถ้าพิจารณาในรายละเอียดของแต่ละระบบย่อย ๆ

ฟังก์ชันการทำงานขององค์ประกอบต่าง ๆ  Source : ทำหน้าที่ในการสร้างข้อมูล  Transmitter : แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปสัญญาณที่สามารถส่งผ่าน สื่อกลางได้ (convert data to signals)  Transmission System : ระบบการถ่ายโอนข้อมูลจากจากผู้ส่งไป ยังผู้รับ  Receiver : แปลงสัญญาณที่ได้รับมาให้อยู่ในรูปของข้อมูล (convert signal to data)  Destination : ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล

ตัวอย่างระบบสื่อสารที่พบในชิวิตประจำวัน  การใช้งานอินเตอร์เน็ต

สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร สัญญาณที่ใช้ในการสื่อสารมีอยู่ 2 ชนิด  สัญญาณอนาลอก (Analog Signal)  สัญญาณดิจิตัล (Digital Signal)

ตัวอย่างของการส่งสัญญาณชนิดต่างในระบบสื่อสาร  แสดงลักษณะของสัญญาณที่ส่งในแต่ละช่วงในระบบสื่อสาร

ทิศทางการไหลของข้อมูลในระบบสื่อสาร (Data Flow) ทิศทางการไหลของข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. Simplex : ทิศทางการไหลของข้อมูลจะไหลไปในทิศทาง เดียวจากผู้ส่งไปยังผู้รับ  ตัวอย่างระบบงานที่มีทิศทางการไหลของข้อมูลแบบ Simplex  ระบบการกระจายเสียงของวิทยุ AM, FM  ระบบการแพร่ภาพโทรทัศน์

ทิศทางการไหลของข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล (Data Flow) 2. Half-Duplex : ทิศทางการไหลของข้อมูลจะไหลไปได้ทั้ง สองทางแต่คนละเวลากัน  ตัวอย่างระบบงานที่มีทิศทางการไหลของข้อมูลแบบ Half- Duplex  ระบบการส่งสัญญาณของวิทยุสมัครเล่น  ระบบการสื่อสารแบบ Intercom

ทิศทางการไหลของข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล (Data Flow) 3. Full-Duplex : ทิศทางการไหลของข้อมูลจะไหลไปได้ทั้งสอง ทางในเวลากัน  ตัวอย่างระบบงานที่มีทิศทางการไหลของข้อมูลแบบ Full- Duplex  ระบบการสื่อสารข้อมูลของโทรศัพท์  ระบบการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์

Questions and Answers