งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบโครงข่ายโทรศัพท์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 8 ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

2 สาระการเรียนรู้ 1. โครงข่ายท้องถิ่น
1. โครงข่ายท้องถิ่น 2. โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ 3. โครงข่ายการเรียกทางไกลต่างประเทศ 4. ลำดับขั้นของโครงข่าย

3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. จำแนกโครงข่ายโทรศัพท์ได้อย่างถูกต้อง 2. ยกตัวอย่างการเรียกที่เกิดขึ้นในโครงข่ายโทรศัพท์ ได้อย่างถูกต้อง 3. บอกลำดับขั้นของโครงข่ายโทรศัพท์ได้อย่างถูกต้อง

4 ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

5 โครงข่ายโทรศัพท์ตามลักษณะการเรียก
แบ่งออกเป็นได้ดังนี้คือ 1.โครงข่ายท้องถิ่น 2.โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ 3.โครงข่ายการเรียกทางไกลต่างประเทศ

6 โครงข่ายท้องถิ่น ( Local Network )

7 ชุมสายท้องถิ่น ( Local Exchange )
โครงข่ายท้องถิ่นที่มีโทรศัพท์เพียงสองเครื่อง ผู้เรียก A-Subscriber ผู้ถูกเรียก B-Subscriber ชุมสายท้องถิ่น ( Local Exchange ) ผู้เช่าฝ่ายเรียกและฝ่ายถูกเรียก อยู่ในพื้นที่เดียวกัน

8 การเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างชุมสายท้องถิ่น
โครงข่ายท้องถิ่นแบบนี้อาจจะเป็นชุมสายท้องถิ่นในบริเวณเดียวกัน เช่น ชุมชนเมืองที่มีผู้อาศัยอยู่หนาแน่น อาจจะมี ชุมสายย่อยๆได้หลายๆชุมสาย การเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างชุมสายท้องถิ่น

9 ในโครงข่ายท้องถิ่นจะมีชุมสายต่อผ่าน
( Tandem Exchange ) เพื่อให้โครงข่ายสามารถที่จะรับการจราจรทางโทรศัพท์ได้ดีขึ้น ซึ่งชุมสายชนิดนี้จะทำหน้าที่ต่อผ่านอย่างเดียว ไม่มีสายผู้เช่าต่ออยู่กับชุมสายชนิดนี้

10 การเชื่อมต่อโทรศัพท์ผ่านชุมสายต่อผ่านในโครงข่ายท้องถิ่น

11 โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ ( Transit Network )

12 โครงข่ายการเรียกทางไกลภายในประเทศ ( Transit Network )
ชุมสายท้องถิ่น ชุมสายต่อผ่านทางไกล ชุมสายท้องถิ่น Sub.B Sub.A โครงข่ายท้องถิ่น โครงข่ายทรั้งค์ โครงข่ายท้องถิ่น ชุมสายท้องถิ่น ชุมสายต่อผ่านทางไกล

13 โดยปกติแล้ว ชุมสายต่อผ่าน ( Transit Exchange ) มักจะมีเส้นทางสำรอง ( Alternative Routes ) ต่อเชื่อมถึงกัน เพื่อเป็นทางเลือกให้สามารถที่จะติดต่อกันได้ในกรณีจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น กรณีที่เส้นทางระหว่างชุมสายต่อผ่านถูกตัดขาด จะด้วยสาเหตุใดๆก็แล้วแต่ เช่น สายถูกตัดขาดจากการสร้างถนนใหม่ทำให้สายเคเบิลชำรุด หรือเส้นทางหลัก ถูกใช้งานจนเต็มแล้ว การติดต่อสื่อสารก็สามารถที่จะกระทำได้ โดยเปลี่ยนไปใช้เส้นทางสำรอง เพื่อให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ขาดช่วงนั่นเอง

14 การใช้เส้นทางสำรอง ในโครงข่ายโทรศัพท์ เส้นทางหลัก ( ขาด ) ชุมสาย ก
ชุมสาย ข เส้นทางรอง เส้นทางรอง ชุมสาย ค การใช้เส้นทางสำรอง ในโครงข่ายโทรศัพท์

15 โครงข่ายโทรศัพท์สาธารณะ ( Public Switched Telephone Network : PSTN )
สายผู้เช่า ( PSTN Network ) โครงข่ายโทรศัพท์สาธารณะ

16 โทรศัพท์สองเครื่องที่วางห่างไกลกัน โดยสามารถที่จะติดต่อสื่อสารกันได้ ในทางปฏิบัติแล้วการติดต่ออาจจะผ่านชุมสายมากกว่าหนึ่งชุมสายก็ได้

17 โครงข่ายการเรียกทางไกลต่างประเทศ ( International Telephone Network )

18 การติดต่อโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศอัตโนมัติ ( ISD : International Subscriber Dialing ) ผู้เช่าสามารถที่จะหมุนหมายเลขของผู้เช่าที่อยู่ต่างประเทศ โดยจะต้องประกอบด้วย International Prefix + Country Code + Area Code + Subscriber Number

19 ลำดับขั้นของโครงข่าย ( Hierarchical Network )

20 ลำดับขั้นของโครงข่าย
ดาวเทียมสื่อสาร ระหว่างประเทศ ITSC TC TC TC SC SC SC PC PC PC LE LE LE RSU RSU เครื่องโทรศัพท์

21 ความหมาย ชุมสายระดับโครงข่ายระหว่างประเทศ ( International Telephone Switching Center : ITSC ) ชุมสายต่อผ่านทางไกล หรือ ชุมสายโทรศัพท์ระดับที่ 3 การเชื่อมต่อผ่านทางไกล ( Tertiary Center ) ชุมสายโทรศัพท์ระดับที่ 2 ( Secondary Center : SC ) ชุมสายโทรศัพท์ปฐมภูมิ ( Primary Center : PC ) ชุมสายท้องถิ่น ( Local Exchange :LE )

22 ลำดับขั้นของโครงข่ายโทรศัพท์ในประเทศไทย
เขตนครหลวง จะแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. Tertiary Center : TC 2. Secondary Center : SC 3. Local Exchange : LE เขตภูมิภาค จะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ 3. Primary Center : PC 4. Local Exchange : LE

23 THE END


ดาวน์โหลด ppt ระบบโครงข่ายโทรศัพท์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google