องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
Advertisements

การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการใช้โปรแกรมสำนักงานของผู้เรียนอาชีวศึกษา
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบตารางและกราฟแสดงจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบและคะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษา จัดทำโดย นางสาว วนิดา ประจงค์ เลขที่ 49 นางสาว อรุณทิพย์
ณ ห้องประชุมอินทนิล โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
การรายงานข้อมูลในโปรแกรม School MIS กลุ่มงานวัดและประเมินผล สพป. พิษณุโลก เขต 3.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
8 สิงหาคม ศิลปะยืนยาว... ชีวิต สั้น _files.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. การจัดกิจกรรมแนะแนวในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คุณลักษณะอันพึง.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่ วิชาชีพ สถานศึกษา พอเพียง การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การบริหารหลักสูตร.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
การตรวจสอบและการใช้หลักสูตร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อ.พรพรรณ โชติพฤกษวัน ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์โรงเรียน
ประกาศ ศธ. การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ป. 1-3 ลว. 31 ต. ค
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ผู้อำนวยการสถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์ หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

องค์ประกอบที่สำคัญของหลักสูตรสถานศึกษา 1. ส่วนนำ ความนำ วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 3. คำอธิบายรายวิชา 4. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5. เกณฑ์การจบการศึกษา

ตรา โรงเรียน ตัวอย่าง 1 ปกหลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่าง 1 ปกหลักสูตรสถานศึกษา ตรา โรงเรียน หลักสูตรโรงเรียน............... พุทธศักราช.........(ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรสถานศึกษา) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา................... สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ตราโรงเรียน ตัวอย่าง 2 ปกหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่าง 2 ปกหลักสูตรสถานศึกษา ตราโรงเรียน หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน............... พุทธศักราช.........(ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา................... สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ตัวอย่าง 1 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้หลักสูตร ตัวอย่าง 1 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้หลักสูตร ประกาศโรงเรียน..................... เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน........ พุทธศักราช.........(ปีที่ใช้หลักสูตร) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่..... เดือน.........พศ..... จึงประกาศให้ใช้ หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ (วันที่ / เดือน / ปี) .............................................. (................................................) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำนวยการโรงเรียน

ตัวอย่าง 2 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้หลักสูตร ตัวอย่าง 2 ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้หลักสูตร ประกาศโรงเรียน..................... เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน........ พุทธศักราช.........(ปีที่ใช้หลักสูตร) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่..... เดือน.........พศ..... จึงประกาศให้ใช้ หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ (วันที่ / เดือน / ปี) .............................................. (................................................) ผู้อำนวยการโรงเรียน

ส่วนนำ ความนำ วิสัยทัศน์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ความนำ แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน

วิสัยทัศน์ เป็นเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชื่อ เอกลักษณ์ของโรงเรียน ในการพัฒนาผู้เรียน ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางฯ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และ ความต้องการของโรงเรียน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระบุสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ประการ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี

โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียน แสดงรายละเอียด ในภาพรวมเวลาเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียน เพิ่มเติม จำแนกแต่ละชั้นปี

ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ๘๐ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๒๐ ประวัติศาสตร์ (๔๐) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม (๘๐) เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๔๐

ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖  รายวิชา / กิจกรรม ที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละ ๔๐ ชั่วโมง  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือยุวกาชาด ๑๒๐ - ชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๓๒๐ (๘ นก.) ประวัติศาสตร์ ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ๑๒๐ (๓นก.) ๒๔๐ (๖นก.) ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘๐ (๒นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๑,๖๔๐ (๔๑ นก.)

ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา ตัวอย่าง โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖  รายวิชาเพิ่มเติม ปีละไม่เกิน ๒๐๐ ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ๑,๖๐๐ชั่วโมง  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ ยุวกาชาดฯ ๑๒๐ ๓๖๐ - ชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

โครงสร้างชั้นปี โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้าง ที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของวิชา พื้นฐานรายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติม ในแต่ละชั้นปี

ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี) รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม ท๑๑๒๐๑ ทักษะการเขียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐  กิจกรรมแนะแนว  กิจกรรมนักเรียน ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๓๐ ชมรม/ชุมนุม  กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐

ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ (หน่วยกิต/ชม.) ภาคเรียนที่ ๒ รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ (๔๔๐) ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๒๑๑๐๓ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๕ ( ๖๐) ส๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ (๔๐) พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ (หน่วยกิต/ชม.) ภาคเรียนที่ ๒ รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ (๑๐๐) ค๒๑๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์ GSP อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ส๒๑๒๐๑ ท้องถิ่นของเรา ง๒๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ๑ (๔๐) ง๒๑๒๐๓ คอมพิวเตอร์ ๒ ง๒๑๒๐๒ งานประดิษฐ์ ง๒๑๒๐๔ งานช่าง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐  กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑๕  กิจกรรมนักเรียน ลูกเสือ - เนตรนารี ชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ๕ ๑๐ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๖๐๐

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนสามารถจัดบูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ทั้งในเวลาและนอกเวลาเรียน ทั้งนี้ ต้องจัดเวลาปฏิบัติกิจกรรมให้ครบตามที่หลักสูตรแกนกลางกำหนด ตามบริบทและความพร้อมของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ดังนี้ - ระดับประถมศึกษา (ป.1 - 6) รวม 6 ปี เวลา 60 ชม. - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) รวม 3 ปี เวลา 45 ชม. - รัดบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) รวม 3 ปี เวลา 60 ชม.

คำอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย รหัสวิชา รายชื่อวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นปี จำนวนเวลาเรียน และ / หรือหน่วยกิตที่สอนตลอดปีหรือตลอดภาคเรียน การเขียนคำอธิบาย เขียนเป็นความเรียง ระบุองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นภาพรวมที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสะท้อนตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐาน หรือผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม และระบุรหัสตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น ๆ

ตัวอย่าง รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ตัวอย่าง รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับประถมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง   รายวิชาเพิ่มเติม ท๑๑๒๐๑ ทักษะการพูด จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ท๑๒๒๐๑ ทักษะการอ่าน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ท๑๓๒๐๑ ทักษะการเขียน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ท๑๕๒๐๑ การเขียนสร้างสรรค์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ท๑๖๒๐๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร จำนวน ๔๐ ชั่วโมง

ตัวอย่าง คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ตัวอย่าง คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 80 ชั่วโมง ............................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................ รหัสตัวชี้วัด ศ 1.1 ป. 5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7 ศ 1.2 ป. 5/1, ป.5/2 ศ 2.1 ป. 5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7 ศ 2.2 ป. 5/1, ป.5/2 ศ 3.1 ป. 5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6 ศ 3.2 ป. 5/1, ป.5/2 รวมทั้งหมด 26 ตัวชี้วัด ศ 15101 ศิลปะ

ตัวอย่าง คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษา คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 21101 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต .............................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... รหัสตัวชี้วัด ระบุรหัสตัวชี้วัดที่แบ่งเป็นรายภาคตามความเหมาะสม รวมทั้งหมด.............ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ตัวอย่าง คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา ตัวอย่าง คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ผลการเรียนรู้ 1. ........................................ 2. ........................................ 3. ........................................ ฯลฯ รวมทั้งหมด.........ผลการเรียนรู้ ท 14201 วรรณกรรมท้องถิ่น

ตัวอย่าง คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษา ท 22201 เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ผลการเรียนรู้ 1. ........................................ 2. ........................................ 3. ........................................ ฯลฯ รวมทั้งหมด.........ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียน (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) แบ่งเป็น 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในแต่ละกิจกรรมให้ระบุแนวการจัดกิจกรรม เวลาการจัดกิจกรรม และแนวทางการประเมินกิจกรรมที่โรงเรียนกำหนด

เกณฑ์การจบ กำหนดเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แยกตามระดับการศึกษาที่โรงเรียนเปิดสอนอย่างชัดเจน

ตัวอย่าง เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ตัวอย่าง เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน .....ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติม จำนวน...ชั่วโมง และมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านทุกรายวิชา 1 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป 2 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป 3 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม 4

ตัวอย่าง เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวอย่าง เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน.........หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน.........หน่วยกิต ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็น รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม

ตัวอย่าง เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวอย่าง เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน.........หน่วยกิต เป็นรายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน ไม่น้อยกว่า ....... หน่วยกิต 1 ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต เป็น รายวิชาพื้นฐาน ๔๑หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต 2 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป 3 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขึ้นป 4 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม 5

สวัสดี ขอบคุณ