งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจสอบและการใช้หลักสูตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจสอบและการใช้หลักสูตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจสอบและการใช้หลักสูตร
ดร.ดิเรก วรรณเศียร

2 ดร. ดิเรก วรรณเศียร. ปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จุฬาฯ
ดร.ดิเรก วรรณเศียร * ปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จุฬาฯ * อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย มรภ.สวนดุสิต

3 ความสำเร็จของการใช้หลักสูตร คือ ครูเปลี่ยนแปลงการสอน และ
ผู้เรียนเกิดคุณภาพ

4 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education Curriculum)
มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง ระดับชาติ ท้องถิ่น สถานศึกษา

5 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ความต้องการของท้องถิ่น
การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลาง สพฐ. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง - โครงสร้างหลักสูตร - เกณฑ์การวัดผลประเมินผล กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น สพท. เป้าหมาย/ จุดเน้น สาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น + + การวัดประเมินผล ระดับท้องถิ่น หลักสูตรสถานศึกษา ส่วนที่สถานศึกษา เพิ่มเติม โรงเรียน ความต้องการของท้องถิ่น + แกนกลาง +

6 สถานศึกษาควรให้ครู ได้มีโอกาสจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเอง จะทำ ให้เกิดการเรียนรู้ที่แท้จริงจากการลงมือ ปฏิบัติ จะรู้เรื่องหลักสูตรแกนกลาง รายละเอียดสาระการเรียนรู้กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ฯลฯ

7 ควรให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน มีส่วนร่วมในการจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา อย่างจริงจัง อัน จะเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการ คิดวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน อย่างต่อเนื่อง

8 ควรสร้างความตระหนักร่วมกัน
ว่า หลักสูตรสถานศึกษาเป็น หัวใจ ของการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ที่มีคุณภาพที่แท้จริง และยั่งยืน

9 วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ องค์ประกอบของหลักสูตร
เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงสิ่งที่พบในองค์ประกอบหลักสูตร เพื่อเป็นข้อมูลในการช่วยตัดสินใจของผู้บริหาร ก่อนการนำหลักสูตรไปใช้

10 ข้อเสนอแนะในการตรวจสอบ
ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ สร้างความเข้าใจและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรให้บุคลากรในโรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง ดำเนินการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน หลังจากการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตร ควรจัดให้มีการประชุมเสนอผลการตรวจสอบในภาพรวม ปัญหา ข้อแนะนำ เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น

11 องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
๑. ส่วนนำ - ความนำ - วิสัยทัศน์โรงเรียน - สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรียน ๓. คำอธิบายรายวิชา ๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๕. เกณฑ์การจบหลักสูตร

12 แบบตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียน ………………….. อำเภอ ………………. จังหวัด ……………………. สังกัด …………………………………………… คำชี้แจง ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ตามลำดับดังนี้ ๑. ตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องผลการตรวจสอบตามความเป็นจริง ๒. บันทึกแนวทางในการปรับปรุง/แก้ไขเพื่อให้โรงเรียนนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนต่อไป ๓. สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ๔. หากมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ๆ ให้บันทึกลงในช่องว่างที่กำหนดให้

13 องค์ประกอบของหลักสูตรโรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข ปรากฏ ไม่ปรากฏ ๑ ส่วนนำ ๑.๑ ความนำ แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการ ของโรงเรียน ๑.๒วิสัยทัศน์ ๑.๒.๑ แสดงภาพอนาคตของผู้เรียนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑อย่างชัดเจน ๑.๒.๒ แสดงภาพอนาคตของผู้เรียนสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น

14 (ต่อ) รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข ปรากฏ ไม่ปรากฏ ๑.๒.๓ แสดงภาพอนาคตของผู้เรียน ครอบคลุมสภาพความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น ๑.๒.๔ มีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้ ๑.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.๔.๑ มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑.๔.๒ มีความสอดคล้องกับเป้าหมายจุดเน้นกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ๑.๔.๓ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน

15 (ต่อ) รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข ปรากฏ ไม่ปรากฏ ๒. โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรียน ๒.๑ มีการระบุรายวิชาพื้นฐานทั้ง ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ พร้อมทั้งระบุเวลาเรียนและ/หรือหน่วยกิต ๒.๒ มีการระบุรายวิชาเพิ่มเติมหรือกิจกรรมเพิ่มเติมที่สถานศึกษากำหนดพร้อมทั้งระบุเวลาเรียนและ/หรือหน่วยกิต ๒.๓ มีการระบุกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนพร้อมทั้งระบุเวลาเรียน ๒.๔ เวลาเรียนรวมของหลักสูตรโรงเรียนสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒.๕ มีการกำหนดโครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไว้อย่างชัดเจน ๒.๖ มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวน เวลาเรียนและ/หรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน

16 (ต่อ) รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข ปรากฏ ไม่ปรากฏ ๒.๗ รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติมสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ๓. คำอธิบายรายวิชา ๓.๑ มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และ ชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน ๓.๒ มีการระบุชั้นปีที่สอนและจำนวนเวลาเรียนและ/หรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน ๓.๓ การเขียนคำอธิบายรายวิชา เขียนเป็นความเรียง โดยระบุองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะหรือเจตคติที่ต้องการ ๓.๔ มีการจัดทำคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

17 (ต่อ) รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข ปรากฏ ไม่ปรากฏ ๓.๕ มีการระบุรหัสตัวชี้วัด ในรายวิชาพื้นฐาน และจำนวนรวมของตัวชี้วัด ๓.๖ มีการระบุผลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิ่มเติม และจำนวนรวมของผลการเรียนรู้ ๓.๗ มีการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสอดแทรกอยู่ในคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม ๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔.๑ จัดกิจกรรมทั้ง ๓ กิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๔.๒ จัดเวลาทั้ง ๓ กิจกรรมสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

18 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข ปรากฏ ไม่ปรากฏ ๔.๓ มีแนวทางการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน ๔.๔ มีแนวทางการประเมินกิจกรรมที่ชัดเจน ๕. เกณฑ์การจบหลักสูตร ๕.๑ มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินรายวิชาพื้นฐานครบ ๘ กลุ่มสาระและรายวิชาเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนที่กำหนด ๕.๒ มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ๕.๓ มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๔ มีการกำหนดเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

19 ลงนาม ………………………………… ผู้ตรวจสอบ
เกณฑ์การตรวจสอบ ผ่าน หมายถึง ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนปรากฏ ข้อมูลครบตามรายการที่กำหนดทุกรายการ ควรปรับปรุง หมายถึง ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ปรากฏข้อมูลไม่ครบหรือขาดบางรายการที่กำหนด ลงนาม ………………………………… ผู้ตรวจสอบ ( …………………………….... ) ตำแหน่ง ………/………../………

20 ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน สรุปผลการตรวจสอบภาพรวม
สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน อำเภอ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา………………… เขต ….. ตอนที่ ๑ ตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ที่ รายการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ผ่าน ควรปรับปรุง ส่วนนำ โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรียน คำอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การจบหลักสูตร สรุปผลการตรวจสอบภาพรวม

21 จุดที่ต้องเพิ่มเติม /พัฒนา
ตอนที่ ๒ สรุปผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน จุดเด่น จุดที่ต้องเพิ่มเติม และพัฒนาจุดเด่นของหลักสูตรโรงเรียน จุดเด่นของหลักสูตร จุดที่ต้องเพิ่มเติม /พัฒนา ๑ . ส่วนนำ ๑.๑ ความนำ ๑.๒ วิสัยทัศน์โรงเรียน ๑.๓. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

22 ๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๒. โครงสร้างเวลาเรียน ๓. คำอธิบายรายวิชา ๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๕. เกณฑ์การจบหลักสูตร ผู้รับรองข้อมูล ( ) ตำแหน่ง

23 (ส่วนนำ) วิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฯลฯ
องค์ประกอบ สำคัญ (ส่วนนำ) วิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฯลฯ โครงสร้างหลักสูตร (รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน) คำอธิบายรายวิชา (รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับชั้น เวลาเรียน) เกณฑ์การจบ หลักสูตร

24 การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร
วิสัยทัศน์ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

25 ปกหลักสูตรโรงเรียน ตัวอย่างที่ ๑
หลักสูตรโรงเรียน……………………. พุทธศักราช (ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปกหลักสูตรโรงเรียน ตัวอย่างที่ ๑ ตราโรงเรียน

26 ปกหลักสูตรโรงเรียน ตัวอย่างที่ ๒
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน……………………. พุทธศักราช (ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตราโรงเรียน ปกหลักสูตรโรงเรียน ตัวอย่างที่ ๒

27 ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร ตัวอย่างที่ ๑
ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน พุทธศักราช (ปีที่ใช้หลักสูตร) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตร โรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ (วันที่/เดือน/ปี) …………………………… ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร ตัวอย่างที่ ๑ …………………………… ( ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน …………………………… ( ) ผู้อำนวยการสถานศึกษา

28 ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร ตัวอย่างที่ ๒
ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน พุทธศักราช (ปีที่ใช้หลักสูตร) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ (วันที่/เดือน/ปี) …………………………… ( ) ผู้อำนวยการโรงเรียน ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร ตัวอย่างที่ ๒

29 ความนำ แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่าง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับกรอบหลักสูตรระดับ ท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน

30 วิสัยทัศน์โรงเรียน เป็นเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชื่อ
เป็นเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชื่อ อนาคตที่พึงประสงค์ เอกลักษณ์ของโรงเรียน เพื่อสร้าง ศรัทธา จุดประกายความคิดในการพัฒนาองค์กร และ คุณภาพผู้เรียน ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน

31 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

32 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ

33 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 160 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 80 สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 40 ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 800 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 รายวิชา / กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละไม่เกิน 80 ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง / ปี 33 33

34 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนปรับปรุง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 * กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 160 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 80 สังคมศึกษาฯ 120 สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ 40 ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 840 * กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน * รายวิชา / กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละไม่เกิน ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง / ปี

35 การจัดเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การจัดเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรม 120 - ประวัติศาสตร์ 40 - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม 80 - ภูมิศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์

36 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียนทั้งหมด 840 (21 นก.) 1,560 (39 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 360 รายวิชา / กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละไม่เกิน 240 ชม. ไม่น้อยกว่า 1,680 ชม. ไม่เกิน 1,200 ชม. / ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชม. 36 36

37 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนปรับปรุง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6 * กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ 160 (4 นก.) 320 (8 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียนทั้งหมด 880 (22 นก.) 1,640 (41 นก.) * กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 360 * รายวิชา / กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละไม่เกิน 200 ชม. (5 นก.) ไม่น้อยกว่า 1,600 ชม. (40 นก.) ไม่เกิน 1,200 ชม. / ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชม.

38 การจัดเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การจัดเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - ม.6 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรม 160 (4 นก.) 320 (8 นก.) - ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม - ภูมิศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์

39 กลุ่มสาระการเรียนรู้
รายวิชา ศิลปะ 1 ทัศนศิลป์ 2 ดนตรี / นาฏศิลป์ สุขศึกษา พลศึกษา 3 สุขศึกษา 4 พลศึกษา

40 กลุ่มสาระการเรียนรู้
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 สังคมศึกษา 2 ประวัติศาสตร์

41 การกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถดำเนินการ ดังนี้
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐาน ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ที่กำหนด ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กำหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร 41 41

42 สำหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา อาจจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาและเกณฑ์การจบหลักสูตรเฉพาะ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสำหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 42

43 ตัวชี้วัดชั้นปี / ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี รวม สาระ มาตรฐาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1. ภาษาไทย 5 22 27 31 33 34 180 2. คณิตศาสตร์ 6 14 15 23 28 29 155 3. วิทยาศาสตร์ 8 13 16 21 37 159 4. สังคมศึกษาฯ 11 32 39 38 219 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 18 19 25 120 6. ศิลปะ 3 26 154 7. การงานอาชีพฯ 4 10 59 8. ภาษาต่างประเทศ 20 110 40 67 139 179 199 217 223 1156 43 43

44 ตัวชี้วัดชั้นปี/ช่วงชั้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี / ช่วงชั้น ม.4 – 6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม 1. ภาษาไทย 35 32 36 103 2. คณิตศาสตร์ 27 26 25 78 3. วิทยาศาสตร์ 42 37 40 119 67 4. สังคมศึกษาฯ 45 44 49 138 63 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 23 24 72 29 6. ศิลปะ 86 39 7. การงานอาชีพฯ 9 14 12 8. ภาษาต่างประเทศ 20 21 62 228 226 239 693 316 44 44

45 รายวิชาพื้นฐาน (มาตรฐาน / ตัวชี้วัด)
& รายวิชาเพิ่มเติม (ผลการเรียนรู้)

46 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น (120 ชม. / ปี) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน 2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 2.2 ชุมนุม ชมรม ผู้เรียนต้องเข้าร่วมและได้รับการประเมินกิจกรรมทั้ง 2.1 และ 2.2 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

47 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (360 ชม. / 3 ปี) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน 2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 2.2 ชุมนุม ชมรม ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรม 2.1 หรือ 2.2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้ตามความเหมาะสม 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

48 กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณะประโยชน์ ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลา
ประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณะประโยชน์ ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลา ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓)รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชั่วโมง มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖)รวม ๓ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง

49 เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
เรียนตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด ผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

50 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

51 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

52 เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ระเบียนแสดงผลการเรียน ประกาศนียบัตร แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด

53 การเทียบโอนผลการเรียน
ดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ผู้เรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน การเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน ให้ดำเนินการ ดังนี้ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง

54 ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการเรียนรู้ กับองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น หลักสูตรและการประเมินระดับโรงเรียน ความสนใจ ความต้องการ ของนักเรียน การเรียนการสอนในชั้นเรียน หลักฐานและร่องรอยของการเรียนรู้ การบรรลุ มาตรฐาน กิจกรรม การเรียนการสอน ชิ้นงานหรือภาระงาน ที่นักเรียนปฏิบัติ - แหล่งข้อมูล - ปัญหา - เหตุการณ์สำคัญ ในชุมชน การประเมิน - เกณฑ์การประเมิน - คำอธิบายคุณภาพ - แนวการให้คะแนน ผลงานตัวอย่างที่ได้มาตรฐาน

55 การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Backward Design Instruction

56 องค์ประกอบการจัดการเรียนรู้ O L E
O  Objective L  Learning Activity E  Evaluation

57 การออกแบบการจัดการเรียนรู้
O L E

58 กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ที่พึงประสงค์
1 กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ Backward Design 2 กำหนดหลักฐานของการเรียนรู้ 3 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้วางแผนจัดประสบการณ์

59 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน

60 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน์ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษา เป้าหมาย/จุดเน้น สาระการเรียนรู้ การประเมิน โครงสร้างเวลาเรียนของสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา รหัสรายวิชา คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้

61 ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดลำดับ ผลการเรียนรู้และการประเมินผล
ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดลำดับ ผลการเรียนรู้และการประเมินผล สิ่งที่มีคุณค่าและน่าจะรู้ รูปแบบการประเมิน - แบบทดสอบต่าง ๆ * การเลือกคำตอบ * คำตอบที่มีโครงสร้าง - โครงงาน/การลงมือปฏิบัติ ในสถานการณ์จริง * คำถามปลายเปิด * ชิ้นงาน/สถานการณ์ที่ซับซ้อน * ปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง สิ่งที่จำเป็นต้องรู้ และทำได้ ความเข้าใจที่ลุ่มลึกและยั่งยืน 61

62

63 ตัวอย่างหัวเรื่องหน่วยการเรียนรู้
สายน้ำกับชีวิต ฉลาดกินฉลาดใช้ด้วยหัวใจที่พอเพียง ป่าเขตร้อน วีระบุรุษไทย ศรัทธาและความเชื่อ ภาษากับวัฒนธรรม สถิติกับความน่าจะเป็น

64 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ สาระที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
มาตรฐานการเรียนรู้ 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดชั้นปี วิถีชีวิตของมนุษย์ที่ส่งผลกระทบต่อสายน้ำ ระบบนิเวศน์สายน้ำ ความคิดรวบยอดหลัก สายน้ำกับชีวิต หัวเรื่อง การพึ่งพาอาศัยของสิ่งมีชีวิตในสายน้ำ การอนุรักษ์สายน้ำ

65 วัยรุ่นมีทักษะการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
วัยรุ่นมีทักษะการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง โดยการประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Essential Question Enduring Understanding โครงสร้างครอบครัว การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี Topic/Concept วัยรุ่นยุคใหม่ ก้าวไกลอย่างสมดุล Topic/Concept Topic/Concept พฤติกรรมเสี่ยง ของวัยรุ่น THEME ค่านิยมของวัยรุ่น การสร้างภูมิคุ้มกัน Topic/Concept Topic/Concept Topic/Concept

66 โภชนาการ โภชนาการมีผลกระทบกับการดำรงชีวิตอย่างไร การกินดีอยู่ดีคืออะไร
อาหารตามโภชนาการที่ดีคืออะไร ปัญหาผลกระทบ ประโยชน์คุณค่า ชนิดของสารอาหาร โภชนาการ การจัดการเมนู แนวทางการพัฒนา

67 1.ชื่อหน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 3.สาระสำคัญ/ ความคิดรวบยอด เป้าหมายการเรียนรู้ 4.สาระการเรียนรู้ 7.ชิ้นงาน/ภาระงาน 5.สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน หลักฐานการเรียนรู้ 8.การวัดและประเมินผล 6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 9.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ 10.เวลา

68 แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง………………………………………………………… รหัส-ชื่อรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………… ชั้น ภาคเรียนที่ เวลา ชั่วโมง ผู้สอน โรงเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด 1. …………………………………………… 2. ……………………………………………

69 สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะ

70 การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน การประเมินผล ประเด็น การประเมิน
การประเมินผล ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพ

71 กิจกรรมการเรียนรู้ 1.กิจกรรมนำสู่การเรียน
2.กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน 3. กิจกรรมรวบยอด

72 ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง รูปสวยด้วยมือเรา รหัส-ชื่อรายวิชา ค กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ เวลา 6 ชั่วโมง ผู้สอน โรงเรียน

73 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด 1. ค 3.2 ม.2/3 เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนและนำไปใช้ 2. ค 3.2 ม.2/4 บอกภาพที่เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนรูปแบบต้น และอธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่ปรากฏ เมื่อกำหนดรูปต้นแบบและภาพนั้นให้ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ 1. ค 6.1 ม.2/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ 2. ค 6.1 ม.2/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

74 สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้
เข้าใจการแปลงทางเรขาคณิตเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และนำไปใช้สร้างภาพจากรูปต้นแบบได้อย่างหลากหลายและมีความคิดสร้างสรรค์ โดยสามารถบอกภาพและอธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่ปรากฏจากรูปต้นแบบ และสามารถนำไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ สาระการเรียนรู้ ความรู้ : การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน ทักษะกระบวนการ : - เข้าใจเกี่ยวกับการแปลง - บอกภาพที่เกิดขึ้นจากการแปลง - อธิบายวิธีการที่ได้จากการแปลงรูปต้นแบบ - นำไปใช้และเชื่อมโยงความรู้กับศาสตร์อื่นๆ - มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : - มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

75 ชิ้นงาน/ภาระงานที่ให้นักเรียนปฏิบัติ
นักเรียนทำชิ้นงาน “รูปสวยด้วยมือเรา” โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. เป็นรูปภาพที่เกิดจากเลื่อน การสะท้อน และการหมุนจากรูปต้นแบบ พร้อมอธิบายวิธีการที่ได้จากการแปลงรูปต้นแบบชัดเจน 2. เป็นรูปที่เกิดจากการนำสิ่งรอบตัวมาประยุกต์ใช้ 3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

76 เกณฑ์การประเมิน ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1. รูปสวยด้วยมือเรา ตรวจผลงาน แบบบันทึกผล การประเมิน ระดับคุณภาพ มี 4 ระดับ ได้คุณภาพตั้งแต่ ขึ้นไป ถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน

77 เกณฑ์การประเมิน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
บอกได้ว่าเป็นรูปภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนาน การสะท้อนและการหมุนจากรูปต้นแบบพร้อมทั้งอธิบายวิธีการที่ได้จากการแปลงรูปต้นแบบ ดีมาก (4) บอกได้ถูกต้อง และอธิบายวิธีการที่ได้ จากการแปลงรูปต้นแบบได้อย่างชัดเจนว่า ใช้วิธีการใดในการสร้างภาพพร้อมอธิบายได้ ทุกขั้นตอน ดี (3) บอกได้ถูกต้อง และอธิบายวิธีการที่ได้ จากการแปลงรูปต้นแบบได้บ้าง แต่ยังมีการข้ามขั้นตอน พอใช้ (2) บอกได้ถูกต้อง และอธิบายวิธีการที่ได้ จากการแปลงรูปต้นแบบไม่ชัดเจน ลำดับขั้นตอนไม่ได้ ปรับปรุง(1)บอกได้ไม่ถูกต้อง ไม่รู้ว่ารูปต้นแบบที่ได้ มาจากการแปลงชนิดใด และไม่มีขั้นตอน

78 เกณฑ์การประเมิน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
2. เป็นรูปที่เกิดจาก การนำสิ่งแวดล้อมรอบตัว มาประยุกต์ใช้ ดีมาก (4) รูปที่ได้จากการแปลงเป็นรูปที่เกิด จากการนำสิ่งรอบๆตัวมาประยุกต์ ในการปฏิบัติ ดี (3) รูปที่ได้จากการแปลงเกิดจาก การลอกเลียนแบบจากรูปที่มีอยู่แล้ว พอใช้ (2) รูปที่ได้จากการแปลงเกิดจาก การคัดลอกจากแบบที่มีอยู่แล้ว ปรับปรุง(1) ไม่สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง

79 เกณฑ์การประเมิน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ดีมาก (4) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้รูปต้นแบบ เน้นรูปเรขา คณิต หรือรูปหลายเหลี่ยมต่างๆ มาใช้ พร้อมทั้งมีการใช้วิธีแปลงทางเรขาคณิต ทั้ง 3 วิธี คือการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน ดี (3) ใช้รูปต้นแบบเป็นเรขาคณิตและมีวิธีการแปลง ทางเรขาคณิต 2 วิธี พอใช้ (2) ใช้รูปต้นแบบเป็นเรขาคณิตและมีวิธีการแปลง ทางเรขาคณิตเพียงวิธีเดียว ปรับปรุง(1) ใช้รูปต้นแบบเป็นเรขาคณิตโดยลอกเลียนแบบ ตามตัวอย่างที่ให้ไว้ในใบความรู้วิธี

80 กิจกรรมการเรียนรู้ 1. กิจกรรมนำสู่การเรียน
1. กิจกรรมนำสู่การเรียน พูดคุยกับนักเรียนประกอบตัวอย่างของจริงในเรื่องลวดลายของกระเบื้องปูพื้น ลายปูนปั้น การส่องกระจก ที่นักเรียนพบเห็นว่ามีที่มาจากการนำความรู้เรื่องการแปลงทางเรขาคณิตมาประยุกต์ใช้ทั้งสิ้น 2. กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน 1) นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับการนำความรู้เรื่องการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ พร้อมกับการอธิบายเรื่องการแปลงทางเรขาคณิต มี 3 แบบ คือ การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และให้ฝึกปฏิบัติในใบงาน 2) นักเรียนทำแบบฝึกทักษะตามใบงานในเรื่องการแปลงทางเรขาคณิตทั้ง 3 แบบ 3) ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยและร่วมแก้ไขข้อบกพร่องของนักเรียนในเรื่องต่างๆ 4) อธิบายความรู้ พร้อมยกตัวอย่างการนำการแปลงทางเรขาคณิตไปประยุกต์ใช้ ในการสร้างงาน (เทสเรซิน) 5) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 3 คน และจัดทำชิ้นงาน “รูปสวยด้วยมือเรา” โดยครูแจ้งเกณฑ์การให้คะแนนและขั้นตอนการทำชิ้นงานอย่างละเอียด 3. กิจกรรมรวบยอด ให้นักเรียนจัดทำชิ้นงาน “รูปสวยด้วยมือเรา” โดยใช้ความรู้เรื่องการแปลง ทางเรขาคณิต ส่งครูเป็นรายกลุ่ม ตามขั้นตอนการดำเนินงานที่ฝึกจากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

81 แผนจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้

82 2.ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 6.สื่อและแหล่งเรียนรู้ 3. สาระการเรียนรู้
องค์ประกอบการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ 7.กิจกรรมเสนอแนะ 2.ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 6.สื่อและแหล่งเรียนรู้ 3. สาระการเรียนรู้ 5.กิจกรรม การเรียนรู้ 4.หลักฐานร่องรอยการเรียนรู้

83 หลักการ แนวคิด ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เป้าหมายสำคัญสำหรับ การพัฒนาเด็กและเยาวชน มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด หลักการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนาการทางสมอง คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เน้นความรู้คู่คุณธรรม

84 สร้างความรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียน หลากหลายวิชาการ (บูรณาการ)
หลากหลายปัญญา (พหุปัญญา) กระบวนการ ทางปัญญา (กระบวน การคิด) นำความรู้ ไปใช้ การเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ( Child - centered instruction ) หลากหลายวิธีสอน หลากหลายวิธีวัด และประเมินผล กระบวนการ ทางสังคม ( กระบวน การกลุ่ม) มีปฏิสัมพันธ์ หลากหลายแหล่งความรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียน หลากหลายความสนใจ ความสามารถ / ความถนัด สรุปแนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

85 Edgar Dale (1954) กรวยประสบการณ์

86 แหล่งเรียนรู้ สถานที่ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ โดยการสังเกต สัมผัส ฝึกปฏิบัติ ทดลอง ฯลฯ แหล่งเรียนรู้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ตัวอย่างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ โรงอาหาร หอประชุม สนามกีฬาฯลฯ ตัวอย่างแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน เช่น วัด โรงพยาบาล พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ ตลาดฯลฯ

87 วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีความรู้และประสบการณ์ ที่โรงเรียนเชิญมาช่วยจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในเรื่องต่างๆ วิทยากรไม่ใช่ผู้บริหาร ครู หรือบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ตัวอย่างวิทยากร เช่น ตำรวจ แพทย์ เกษตรกร ทนายความ นายธนาคาร นักกีฬา ฯลฯ

88 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ สังคม ศิลปะ วิถีชีวิต ฯลฯ ในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่ และได้ช่วยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์เหล่านั้นต่อผู้เรียน ตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น พระภิกษุ ช่างจักสาน คนทำขนมไทย หมอทำขวัญนาค ฯลฯ

89 สื่อการเรียนการสอน สิ่งที่ช่วยทำให้การเรียนการสอนประสบความสำเร็จได้มากขึ้น รวดเร็วขึ้น และเกิดความยั่งยืนในการเรียนรู้ สื่อ แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ ตัวอย่างสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ภาพ หนังสือ วารสาร แผ่นพับ โปสเตอร์ จดหมายข่าว ฯลฯ ตัวอย่างสื่อที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ เช่น สไลด์ แผ่นใส VCD/DVD CAI บทเรียนบนเว็บไซต์ ฯลฯ

90 นวัตกรรมและ เทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรม (Innovation) เทคโนโลยี (Technology)

91 จุดเน้นการพัฒนาทักษะการคิด
ขั้นสูง คิดแก้ปัญหา คิดตัดสินใจ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ฯลฯ ม.4-6 วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้ความรู้ สร้างความรู้ ฯลฯ ม.1-3 ตีความ แปลความ สรุปย่อ เชื่อมโยง ให้เหตุผล ฯลฯ ป.4-6 สื่อสาร สังเกต สำรวจ ค้นหา เปรียบเทียบ คัดแยก ฯลฯ ทักษะการคิด พื้นฐาน ป.1-3

92 การประเมินตามสภาพจริง
การวัดและประเมินผลกระบวนการทำงานในด้านสมองและจิตใจของผู้เรียนผ่านสิ่งที่ผู้เรียนกระทำอย่างตรงไปตรงมา เพื่อหาคำตอบว่า ทำอย่างไร และทำไมจึงทำอย่างนั้น

93 กระบวนการทำวิจัยในชั้นเรียน
จัดการเรียนการสอน พบปัญหาการเรียนการสอน หรือต้องการพัฒนาการเรียน การสอนให้ดียิ่งขึ้น นักเรียน + ครู ประเมินผล นำไปทดลองกับนักเรียน วิเคราะห์ปัญหา หาสาเหตุของปัญหา หาวิธีที่ดีที่สุดสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน

94 มีสถานศึกษาบางส่วน มีการลอกเลียนแบบหลักสูตรสถานศึกษา
ปัญหา มีสถานศึกษาบางส่วน มีการลอกเลียนแบบหลักสูตรสถานศึกษา อื่น มาเป็นของตนเอง โดยไม่ผ่านกระบวนการจัดทำของสถานศึกษา ของตนเอง

95 สถานศึกษาบางส่วน นำ หลักสูตรแกนกลางใส่ไว้ใน หลักสูตรสถานศึกษาเท่านั้น แต่ขาดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีชีวิตประชาธิปไตย

96 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (๗๐ %) สาระการเรียนรู้ 8 สาระ (๓๐ %) (1) ภาษาไทย (2) คณิตศาสตร์ (3) วิทยาศาสตร์ (4) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (5) สุขศึกษาและพลศึกษา (6) ศิลปะ (7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี (8) ภาษาต่างประเทศ (1) สภาพเกี่ยวกับท้องถิ่น (2) ปัญหาชุมชนและสังคม (3) ภูมิปัญญาท้องถิ่น (4) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิถีชีวิตประชาธิปไตย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

97 ประวัติ ความเป็นมา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา อื่น ๆ แหล่งท่องเที่ยว ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม สาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น บุคคลสำคัญ สภาพเศรษฐกิจ และสังคม การประกอบอาชีพ สภาพปัญหาใน ชุมชน/สังคม สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ

98 การนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น สู่หลักสูตรสถานศึกษา
การนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น สู่หลักสูตรสถานศึกษา จัดเป็น รายวิชาเพิ่มเติม สอดแทรกใน รายวิชาพื้นฐาน จัดเป็น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

99 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ฯ
สาระที่ ๔ : การอาชีพ มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจ มีทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ตัวชี้วัด มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ อาชีพต่าง ๆ ในชุมชน ขนมปังสังขยา เลี้ยงปลาแรด ทำมีด

100 เกร็ดความรู้เพื่อการออกแบบภาระงาน การเรียนการสอน และการวัดประเมินผล
เกร็ดความรู้เพื่อการออกแบบภาระงาน การเรียนการสอน และการวัดประเมินผล 1. แต่ละองค์ประกอบต้องยึดมาตรฐานที่ใช้ในหน่วยเป็นเป้าหมาย 2. ควรบูรณาการมาตรฐานมากกว่า 1 แต่ไม่ควรเกิน 3 3. การบูรณาการมาตรฐาน อาจบูรณาการภายในกลุ่มสาระฯ หรือข้ามกลุ่มก็ได้ 4. แต่ละมาตรฐานอาจนำมาสอนซ้ำได้  มาตรฐานที่ครอบคลุมความรู้  มาตรฐานที่ครอบคลุมทักษะที่จำเป็น 5. ผู้ออกแบบต้องวางแผนโดยคำนึงถึงสภาพรอบตัวเด็ก  ทรัพยากรท้องถิ่น  ประเด็นที่สนใจ  ประเด็นที่เป็นปัญหาของชุมชน 6. ยึดหลักการมีส่วนร่วม  นักเรียน  ครู  ชุมชน 7. ครูต้องเป็น Active Learner

101 ปลายปี 1 นักเรียน 2 วัดผลภาคเรียนที่ 1 3 4 1 ไม่ครบ เวลาเรียน ครบ
1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลระหว่างเรียน นักเรียน 2 2. กระบวนการสอนซ่อมเสริม และประเมินผล วัดผลภาคเรียนที่ 1 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 3. กรรมการพิจารณา 4 4. เรียนซ้ำชั้น 1 ไม่ครบ เวลาเรียน ครบ เหตุไม่สมควร เหตุสุดวิสัย ปลายปี ไม่ผ่าน ผ่าน 2 ได้ผลการเรียน เลื่อนชั้น/จบระดับชั้น แผนภูมิแสดงการประเมินผลการเรียนของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา

102 วัดผลกลางภาค วัดผลปลายภาค
1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลระหว่างเรียน นักเรียน 2. กระบวนการสอนซ่อมเสริม - เงื่อนไข/เกณฑ์ 1 ไม่ผ่าน 3. กระบวนการแก้ “0” สอบแก้ตัว 2 ครั้งไม่ผ่าน เรียนซ้ำรายวิชา วัดผลกลางภาค 2 ผ่าน 4. กระบวนการแก้ “ร” “มผ” และ “มส” ผ่าน 1 ครบ วัดผลปลายภาค เวลาเรียน ไม่ครบ “ร” ได้ระดับผลการเรียน 1-4 “มผ” “มส” 4 3 4 4 เลื่อนชั้น จบระดับชั้น แผนภูมิแสดงการประเมินผลการเรียนของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา

103 ผลการดำเนินงานการสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
ผลการปรับเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา ♦ สถานศึกษาทุกแห่งมีการกำหนดแผนการจัดทำหลักสูตร และมีการดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ผลการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ♦ ครูจัดทำหน่วยการเรียนรู้ได้ ร้อยละ 56 ของหน่วยทั้งหมด ♦ ครูมีกระบวนการคิดที่ค่อนข้างยืดหยุ่นตามหัวข้อ ในการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่หลากหลาย

104 กระบวนการสร้างหลักสูตรสถานศึกษาแบบอิง มาตรฐาน สามารถลดปัญหาได้จริงหรือ
 ลดความยุ่งยากซับซ้อนของกระบวนการที่เคยทำ (80%)  ลดปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาแน่นและซ้ำซ้อนได้ (84.1%)  การจัดทำหน่วยการเรียนรู้เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (97.9%)  การจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบอิงมาตรฐานเป็นการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ (84.5%)  กิจกรรมการวัดและประเมินผลผู้เรียนสามารถสะท้อนถึง มาตรฐานการเรียนรู้ และเป็นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (92.2%)  การจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบอิงมาตรฐานสามารถลดภาระงาน การวัดและประเมินผลของครูได้ (78.1%)

105 4 ภารกิจหลักในระดับ สพท.
1.กำหนดเป้าหมาย/จุดเน้นเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2. พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 3. ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับ สพท. 4. เพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตร ด้วยการวิจัยและพัฒนา

106

107 ดร.ดิเรก วรรณเศียร สอบถาม ขอข้อมูลเพิ่มเติม ปรึกษาหารือ
ดร.ดิเรก วรรณเศียร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 145/9 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ โทรสาร มือถือ s :


ดาวน์โหลด ppt การตรวจสอบและการใช้หลักสูตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google