อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประเมินรายงาน การวิจัย (An Evaluation of Research Report) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้น จิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเขียนโครงร่างวิจัย
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
รูปแบบการนำเสนอผลงาน วิชา การนำเสนอรายงาน ภาคปลายการศึกษา 2549 ( งานกลุ่มวิชา ) 1. ให้นักศึกษาจัดทำรายงานเรื่อง “ บทบาทของการสื่อสารที่มีส่วนใน.
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
Key Performance Indicators (KPI)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยินดีต้อนรับ! ปีการศึกษา [ปี].
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การขอโครงการวิจัย.
ชื่อเรื่องงานนำเสนอ ชื่อเรื่องรองงานนำเสนอ
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา

 บทนำ มักประกอบด้วยประเด็นย่อยๆ จำนวน 6 ประเด็น ได้แก่ ที่มาและความสำคัญของปัญหา หรือความเป็นมา หรือ หลักการและเหตุผล มักเป็นส่วนแรกของบทนำ โดยมี เป้าหมายเพื่อสะท้อนความเป็นมา หรือพัฒนาการของ ประเด็นปัญหาในการวิจัย การอธิบายหลักการและเหตุผล ที่นำไปสู่ประเด็นปัญหาในการวิจัย หรือกล่าวง่ายๆ ว่า เป็นการให้เหตุผลว่า “ ทำไมจึงต้องทำงานวิจัยเรื่องนี้ ” ตลอดจนการตอกย้ำ “ ความสำคัญ ” ของงานวิจัยเรื่อง ดังกล่าว วัตถุประสงค์ในการวิจัย ผู้วิจัยเขียนขึ้นเพื่อระบุถึง เจตนารมณ์ในการทำวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการระบุ ว่าต้องการจะ “ ศึกษาเรื่องอะไร กับกลุ่มเป้าหมายใด ” โจทย์การวิจัย หรือปัญหานำการวิจัย โดยผู้เขียนระบุ โจทย์หลัก หรือประเด็นคำถามหลัก ซึ่งต้องการ ดำเนินการศึกษาค้นคว้า 2

ขอบเขตในการวิจัย เป็นการแจ้งให้ผู้อ่านทราบว่า งานวิจัยครอบคลุมถึงบริบทใดบ้าง กลุ่มเป้าหมายใดบ้าง มีขอบเขตในเชิงพื้นที่ขนาดใด มีขอบเขตในเชิงกรอบ ทฤษฎีอย่างไร ตลอดจนมีข้อจำกัดในการประยุกต์ใช้ ผลการวิจัยแค่ไหน คำนิยามศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัย เป็นการอธิบาย ความหมายของคำหลักต่างๆ (key word) หรือประเด็น ต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ที่หัวเรื่องการวิจัย ปัญหานำการวิจัย และวัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อให้เห็นแนวทางในการ “ สังเกต ” คำหลัก หรือประเด็นดังกล่าว ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย เป็นการระบุให้ เห็นถึงความคาดหวังของผู้วิจัยที่มีต่อผลการวิจัย โดยเฉพาะระบุให้ชัดเจนว่า ผลงานวิจัยนั้นจะมีประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงาน หรือวงการวิชาการ มากน้อยเพียงใด 3

 การทบทวนวรรณกรรม คือ การดำเนินการศึกษา ทฤษฎีและงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็น ปัญหาที่ต้องการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สรุปข้อมูลต่างๆ อย่างเป็นระบบ เกี่ยวกับประเด็น ที่รับรู้กันอย่างกว้างขวางในสังคม และประเด็นที่ ยังไม่มีใครรู้หรือหาคำตอบยังไม่ได้ ตลอดจนยัง เป็นที่สงสัยกันอยู่ 4

ในการทบทวนวรรณกรรม นักวิจัยจำเป็นต้อง อ่านหนังสือ บทความ ตำรา หรืองานวิจัยต่างๆ อย่างมีเป้าหมาย โดยเฉพาะเพื่อหาข้อสรุป เกี่ยวกับประเด็นที่ตนสนใจให้ได้ โดยนักวิจัย อาจอ่านเอกสารดังกล่าวไปพร้อมๆ กับการค้นหา คำตอบต่างๆ ดังต่อไปนี้  ปัจจุบันนี้ การศึกษาค้นคว้าประเด็นปัญหาที่ นักวิจัยสนใจ อยู่ใน “ สถานภาพ ” ใด ( เราได้ เรียนรู้ข้อมูลอะไรบ้าง เราได้ข้อมูลลึกซึ่ง เพียงใด )  ทฤษฎีหรือแนวคิดอะไรบ้าง ที่น่าจะเกี่ยวข้อง โดยตรงกับประเด็นปัญหาดังกล่าว 5

 ทฤษฎีหรือแนวคิดดังกล่าวเกี่ยวข้องกับอะไร อธิบายเรื่องอะไร ในบริบทใด สามารถนำมาใช้ เป็นกรอบในการศึกษาวิจัยเรื่องที่นักวิจัยสนใจ ได้หรือไม่ ทำไม  ทฤษฎีหรือแนวคิดดังกล่าวมีจุดเด่น - จุดอ่อน ตรงไหน  บุคคลอื่นมีเกณฑ์อะไรสำหรับประเมินหรือวัด ประเด็นปัญหาที่นักวิจัยสนใจ  ในกรณีที่ทบทวนวรรณกรรมแล้วค้นพบเกณฑ์ใน การประเมินเกณฑ์ดังกล่าวมีจุดเด่นและจุดอ่อน อย่างไร สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยได้ หรือไม่ 6

 ใครเคยทำวิจัยเกี่ยวกับประเด็นปัญหาดังกล่าว มาก่อนหรือไม่ ? กรณีที่มีผู้เคยทำวิจัยเกี่ยวกับประเด็นปัญหาดังกล่าว - บุคคลที่เคยศึกษาก่อนหน้า ได้ตั้งปัญหานำอย่างไร - เขาใช้ทฤษฎีอะไรเป็นกรอบในการวิจัย - เขาใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบใด มีขั้นตอนในการดำเนินการ อย่างไร - เขาค้นพบอะไร - ข้อมูลน่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะอะไร - มีประเด็นปัญหาอะไร ที่มีคุณค่า แต่เขายังตอบไม่ได้ หรือเสนอแนะให้มีการวิจัยเพิ่มเติม 7

กรณีที่ประเด็นปัญหาดังกล่าวยังไม่เคยมีการศึกษามา ก่อนหน้า - มีใครเคยศึกษาประเด็นใกล้เคียงกันบ้างหรือไม่ - เขาศึกษาประเด็นอะไร - ประเด็นดังกล่าวเชื่อมโยงหรือใกล้เคียงกับสิ่งที่นักวิจัย สนใจเพียงใด - เขาใช้ทฤษฎีอะไรเป็นกรอบในการวิจัย - เขามีการดำเนินการอย่างไร - เขาค้นพบอะไร - ข้อมูลน่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะอะไร  ผลการวิจัยต่างๆ ช่วยทำให้ประเด็นในการวิจัย ของนักวิจัยชัดเจนขึ้นหรือไม่ เพียงใด หรือทำ ให้นักวิจัยเกิดคำถามที่สงสัยเพิ่มเติม และอยาก หาคำตอบหรือไม่ 8