ความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ โดย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
นางสาวปทุมวัลย์ เตโช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัด ลำพูน พฤติกรรมในการใช้บริการ อินเตอร์เน็ตศูนย์วิทยบริการ ของนักศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ.
ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา.
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาและผู้ปกครองที่มีต่อ
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การพัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smartphone iPhone)
นางสาวนรินรัตน์ กล้าหาญ
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.

ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
การประเมินผลที่พึงประสงค์ ต่อการกำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจการดำเนินงาน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร นายกิตติพงษ์ ปินตา วิทยาลัยเทคโนโลยีเม โทร.
ความคาดหวังของผู้ปกครองต่อการปฏิบัติงานของงานปกครอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ WIMOL BUSINESS ADMINISTRATION TECHNOLOGICAL COLLEGE ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการ เขียนโปรแกรม บนระบบปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
โดย.. นายณัฐวัชต์ บุญมา. 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบการ ให้บริการสารสนเทศนักศึกษาออนไลน์ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ประจำปี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาลูกเสือของครูวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
23 – 24 กรกฏาคม พ. ศ ณ ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาสถิติประยุกต์ อาคาร 26 (26201 B)
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
รายงานการประชุม งานวิจัยและพัฒนา ประจำเดือนพฤศจิกายน 2554.
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ภาคเหนือตอนบน ประจำปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ โดย นายรักวิทย์ นันทปาลียอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ตามนโยบายและแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศปี พ.ศ. ๒๕๓๕ นโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง จากการสัมมนาเชิงวิชาการผู้ปฏิบัติงานด้าน ICT ของกระทรวง ศึกษาธิการ (ศธ.) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ตามเป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านการอาชีวศึกษาของ สมศ. ในการใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ การนำโปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา(SISA :School Information System Advance) มาใช้ในสถานศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๕๑

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ทำการประเมินความพึงพอใจจำนวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้าน Functional Requirement Test เป็นการประเมินระบบว่าเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ ด้าน Functional Test เป็นการประเมินการทำงานในหัวข้อต่างๆ ของระบบ ด้าน Usability Test เป็นการประเมินการใช้งานโปรแกรมกับผู้ใช้งาน ด้าน Performance Test เป็นการประเมินในด้านประสิทธิภาพของระบบ ด้าน Security Test เป็นการประเมินระบบในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลผลความพึงพอใจอยู่ในระดับ ระดับความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา โดยภาพรวม ความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา ค่าเฉลี่ย (µ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) การแปลผลความพึงพอใจอยู่ในระดับ การประเมินระบบว่าเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ 3.72 0.79 มาก การทำงานในหัวข้อต่างๆ ของระบบ 3.75 0.81 การประเมินการใช้งานโปรแกรมกับผู้ใช้งาน 4.53 0.53 มากที่สุด การประเมินในด้านประสิทธิภาพของระบบ 3.13 0.64 ปานกลาง การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 4.14 0.59 โดยรวม 3.83 0.83

แผนภูมิความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา

สรุปผลการวิจัย ในการศึกษาความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ พบว่าครูผู้สอนมีความพึ่งพอใจในการใช้งานระบบ SISA โดยค่าเฉลี่ยรวม 3.83 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก แต่ยังมีหัวข้อที่ได้ความพึ่งพอใจระดับปานกลางคือ การประเมินในด้านประสิทธิภาพของระบบ ซึ่งต้องนำเสนอฝ่ายบริหารเพื่อปรับปรุงต่อไป

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1. ได้ทราบถึงความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ 2. ได้ทราบถึงปัญหาที่เกิดจากการใช้งานโปรแกรมระบบจัดการข้อมูล 3. นำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยมาพัฒนาโปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา