การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
การออกแบบและเทคโนโลยี
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  MFS2101 การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การออกแบบ UI เพื่อนำข้อมูลเข้า  
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
7 April 200\14
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
บทที่ 10 วงจรรายได้.
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ User Interface Design อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา

System Development Life Cycle : SDLC กิจกรรมในขั้นตอนนี้ได้แก่ 1. การออกแบบฟอร์มและรายงาน 2. การออกแบบ GUI 3. การออกแบบฐานข้อมูล

Learning Objectives อธิบายกระบวนการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ และแผนภาพแสดงลำดับการเชื่อมโยงจอภาพได้ สามารถประยุกต์ใช้ข้อแนะนำในการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้กับระบบงานที่ทำการศึกษาได้

Topics กระบวนการในการออกแบบ User Interface รูปแบบของส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การออกแบบ Interface ออกแบบการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ การออกแบบลำดับการเชื่อมโยงจอภาพ

กระบวนการในการออกแบบ User Interface ส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับระบบ เพื่อการเตรียมสารสนเทศและการนำสารสนเทศนั้นไปใช้โดยการตอบโต้กับคอมพิวเตอร์ Dialogues หมายถึง ลำดับการเชื่อมโยงจอภาพซึ่งจะทำให้ทราบว่าจอภาพหนึ่งจะเชื่อมโยงไปยังจอภาพใดต่อไป

รูปแบบของ User Interface เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับระบบอย่างมีประสิทธิภาพ นิยมใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface :GUI) มีรูปแบบดังนี้ คือ การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction)

การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) คำสั่ง copy ไฟล์จาก drive c: ไปยัง drive a: C:\copy ex1.doc a:ex1.doc เป็นการโต้ตอบกับระบบโดยที่ผู้ใช้จะต้องพิมพ์คำสั่งลงในช่องป้อนคำสั่ง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการทำงานในระบบ ผู้ใช้จะต้องจำคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น ผู้ใช้ที่ชำนาญการใช้ระบบปฏิบัติการ DOS ลดความนิยมในปัจจุบัน

การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบด้วยการแสดงเมนูคำสั่ง โดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องป้อนคำสั่งเอง รูปแบบเมนูมีดังนี้ คือ Pull-down Menu Pop-up Menu

การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) Pull-down Menu เมนูแสดงคำสั่ง โดยแบ่งรายการของคำสั่งเป็นหมวดหมู่ เมื่อผู้ใช้คลิกจะแสดงรายการคำสั่งจากบนลงล่าง

การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) Pop-up Menu เมนูแสดงคำสั่ง เมื่อผู้ใช้คลิกเลือกวัตถุ หรือ object ใด ๆ ในจอภาพ คำสั่งหรือคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับ object นั้นจะถูกแสดงออกมา

หลักเกณฑ์ในการออกแบบเมนูคำสั่ง แต่ละเมนูคำสั่งควรเลือกใช้คำสั่งที่สื่อความหมายได้ชัดเจน ควรมีการใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือตัวอักษรพิมพ์เล็กตามความเหมาะสม ควรมีการจัดกลุ่มคำสั่งที่มีความเกี่ยวข้องกันไว้ในกลุ่มเดียวกัน ไม่ควรมีจำนวนเมนูคำสั่งมากเกินไป ควรมีเมนูย่อยสำหรับเมนูคำสั่งที่มีการทำงานย่อยภายในมากเกินไป เมื่อมีการเลือกเมนูคำสั่ง ควรออกแบบให้มีแถบสีปรากฏที่เมนูคำสั่งที่ถูกเลือก

การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) เป็นการโต้ตอบที่ผู้ใช้ระบบจะต้องป้อนข้อมูลลงในช่องว่างที่อยู่ในแบบฟอร์มที่แสดงหน้าจอคอมพิวเตอร์ คล้ายการกรอกแบบฟอร์มลงในกระดาษ ชื่อของช่องป้อนข้อมูลต้องสื่อความหมาย แบ่งส่วนของข้อมูลบนฟอร์มให้เหมาะสม ควรแสดงข้อมูลเริ่มต้นให้กับช่องป้อนข้อมูลที่ต้องใช้ข้อมูลนั้นบ่อยครั้ง ช่องป้อนข้อมูลไม่ควรยาวมากจนเกินไป

การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction)

การโต้ตอบเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบที่ใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์เป็นตัวแทนคำสั่งที่ใช้ในการปฏิบัติงาน สัญลักษณ์รูปภาพแทนคำสั่งการทำงานเรียกว่า ไอคอน (Icon) ประหยัดพื้นที่บนหน้าจอ

การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบด้วยการใช้เสียงพูดของผู้ใช้ระบบ ใช้เสียงพูดทั้งการนำข้อมูลเข้าและออกจากระบบ

การออกแบบ Interfaces การออกแบบการจัดวาง (Layouts) ของหน้าจอ โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การควบคุมความถูกต้องในระหว่างป้อนข้อมูล (Controlling Data Input) การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) การออกแบบการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ การออกแบบลำดับการเชื่อมโยงจอภาพ (Dialogue Design)

การออกแบบการจัดวางของหน้าจอ ส่วนหัวเรื่อง: ใช้แสดงชื่อของเอกสารหรือฟอร์มนั้น ๆ ส่วนแสดงลำดับและวันที่: ใช้แสดงเลขลำดับและวันที่หรือเวลา ส่วนแนะนำหรือแนวทางในการใช้: ใช้อธิบายข้อแนะนำการใช้ฟอร์ม ส่วนรายละเอียดข้อมูล: ใช้แสดงสาระสำคัญของเอกสารหรือฟอร์ม ส่วนแสดงผลรวม: ใช้แสดงค่าผลรวม เช่น ยอดเงิน ยอดขาย เป็นต้น ส่วนการลงนามผู้มีอำนาจ: ใช้แสดงนามผู้มีอำนาจของเอกสารหรือฟอร์ม ส่วนแสดงความคิดเห็น: ใช้ในการเขียนข้อความที่เป็นความคิดเห็น

การออกแบบการจัดวางของหน้าจอ 11.18

การออกแบบการจัดวางของหน้าจอ

การออกแบบการจัดวางของหน้าจอ การออกแบบหน้าจอทั้งหมดมีจุดมุ่งหมาย 2 อย่าง คือ เพื่อนำเสนอข้อมูลและช่วยในการปฏิบัติงานในการใช้ระบบ มีแนวทางมากมายในการออกแบบที่ต้องพิจารณาคือหน้าจอทั้งหมดที่ปรากฏควรดึงดูดใจให้อยากใช้งาน ไม่ควรแน่นเกินไป การออกแบบหน้าจอของฟอร์มหรือรายงานต่างๆ ควรจะจัดวางรูปแบบให้เหมือนกับเอกสารมากที่สุด การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลในแต่ละรายการหรือแต่ละฟิลด์ ต้องลำดับการเชื่อมโยงในการป้อนข้อมูลในแต่ละฟิลด์ การกรอกจะคล้ายกับการกรอกบนเอกสารจริง เริ่มกรอกจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง ควรมีความยืดหยุ่นและสอดคล้องในการทำงาน สามารถย้าย Cursor ไปมาระหว่างฟิลด์ที่ต้องการแก้ไข

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล 1. เมื่อเข้าไปที่หน้าจอรับข้อมูลเคอร์เซอร์ (Cursor) ต้องอยู่ที่ตำแหน่งแรกของ ข้อมูลรับตามเนื้อหาของหน้าจอนั้น ตำแหน่งนั้นควรอยู่มุมบนซ้ายมือ หลังจากผู้ใช้ ใส่ข้อมูลแล้วเคอร์เซอร์ (Cursor) ควรเลื่อนไปที่ช่องรับข้อมูลถัดไปเสมอ คือ ด้านล่างหรือด้านข้างถัดไปเพื่อให้การป้อนข้อมูลเป็นธรรมชาติจากบนซ้ายไปขวา แล้วจึงลงมาบรรทัดใหม่ 2. ทุกช่องรับข้อมูลต้องมีคำอธิบาย โดยแสดงกำกับที่ช่องนั้น ซึ่งจะต้องระบุให้ ชัดเจนและอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องและควรมีรูปแบบเดียวกันเพื่อให้ผู้ใช้ไม่สับสน ในการทำงาน 3. ถ้าช่องรับข้อมูลนั้นมีรูปแบบเฉพาะให้แสดงรูปแบบเฉพาะนั้นเพื่อให้ผู้ใช้ป้อน ข้อมูลไม่ผิดพลาด 4. ในทุกครั้งที่ป้อนข้อมูลในช่องรับข้อมูลนั้นครบถ้วนให้ผู้ใช้กด “Enter” เพื่อไป ยังช่องรับข้อมูลถัดไปหรือในกรณีที่ใส่ข้อมูลเท่าจำนวนของข้อมูลนั้นแล้ว เคอร์ เซอร์ควรไปยังช่องรับข้อมูลถัดไปอัตโนมัติเพื่อรับข้อมูลถัดไป เพื่ออำนวยความ สะดวก

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล 5. กรณีข้อมูลรับเข้าเป็นตัวอักษรพิเศษแล้วควรออกแบบให้สามารถใส่ตัวอักษร พิเศษอัตโนมัติโดยผู้ใช้ไม่ต้องใส่เอง 6. กรณีข้อมูลรับเข้าต้องการแสดงผลรับเป็นเลข “0” ให้แสดงโดยผู้ใช้ไม่ต้อง ป้อนเอง 7. กรณีที่ข้อมูลรับเข้าเป็นจำนวนเลขที่นำไปคำนวณค่าควรมี “,” คั่นหลักพันหรือ จุดทศนิยมขึ้นอัตโนมัติ 8. กรณีช่องรับข้อมูลนั้นมีค่าที่สามารถกำหนด (Default) ได้ ระบบนั้นควรแสดง ค่าที่กำหนดนั้น (Default) ที่ช่องนั้น 9. สำหรับข้อมูลรับที่เป็นรหัสที่ต้องมีการตรวจสอบก่อนบันทึก คือ ค่านั้นมี ความสัมพันธ์กับค่าอื่นที่บันทึกไว้เดิมแล้ว เมื่อมีการป้อนรหัสนั้นต้องรับค่านั้นไป ตรวจสอบที่แฟ้มข้อมูลที่อ้างถึง 10. ควรมีปุ่มคำสั่งต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของการใช้งานหน้าจอนั้น 11. หลังจากป้อนข้อมูลในหน้าจอนั้น ๆ สมบูรณ์แล้วและได้รับการตรวจสอบแล้ว ควรมีการใช้ผู้ใช้ได้ตรวจสอบและยืนยันหรือยกเลิกก่อนบันทึกข้อมูลเข้าเครื่อง 11.22

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล

สิ่งที่ต้องเตรียมความสามารถของหน้าจอป้อนข้อมูล การควบคุมตัวกระพริบ (Cursor) การแก้ไขตัวเลขหรือข้อมูล การใช้คำสั่งออก (Exit) มีส่วนช่วยเหลือ (Help)

โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การออกแบบโครงสร้างการป้อนข้อมูล คือ การออกแบบเพื่อกำหนดรูปแบบ หรือลักษณะของช่องป้อนข้อมูล เพื่อเตรียมความสะดวกให้กับผู้ใช้ เช่น การกำหนดค่าเริ่มต้น การจัดวางข้อมูล เป็นต้น 11.26

หลักเกณฑ์การออกแบบ การป้อนข้อมูล (Entry) พยายามให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ค่าเริ่มต้น (Default Value) ค่าของข้อมูลใดที่สามารถกำหนดค่าเริ่มให้ได้ ควรใส่ให้ผู้ใช้ทันที เพื่อเพิ่มความสะดวก เช่น วันที่ หรือหมายเลข Running Number เป็นต้น หน่วยของข้อมูล (Unit) ระบุหน่วยข้อมูลให้ชัดเจน เช่น บาท ดอลลาร์ กิโลกรัม เป็นต้น คำอธิบาย หรือ คำอธิบายช่องป้อนข้อมูล(Caption) แสดงคำอธิบายฟิลด์ว่าต้องการให้ผู้ใช้ใส่ข้อมูลอะไร เป็นจัดวางให้เหมาะสม รูปแบบของข้อมูล (Format) ถ้าต้องการให้มีสัญลักษณ์พิเศษ ควรเตรียมสัญลักษณ์เหล่านี้ให้อัตโนมัติ การจัดวางข้อมูล(Justify) ออกแบบให้มีการจัดวางข้อมูลโดยอัตโนมัติ เช่นตัวเลขชิดขวา ข้อความชิดซ้าย เป็นต้น

หลักเกณฑ์การออกแบบ ส่วนช่วยเหลือ (Help) เตรียมส่วนช่วยเหลือระหว่างผู้ใช้ป้อนข้อมูล เช่นปุ่ม F1 เพื่อขออ่านคำอธิบาย การติดต่อกับผู้ใช้ในการป้อนข้อมูลด้วยกราฟิก (GUI)

การติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface: GUI) เทคโนโลยีที่นำมาใช้ เรียกว่า GUI Input Control ช่วยให้ผู้ใช้ระบบสามารถใช้งานระบบได้ง่ายขึ้น ช่วยให้ข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบมีรูปแบบเดียวกัน ช่วยป้องกันความผิดพลาดในระหว่างการป้อนข้อมูล

การติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface: GUI) Text Box Radio Button Check Button List box Drop-down List Box Combination Box (Combo Box) Spin Box (Spinner Box) Menu bars Toolbars Dialog boxes Toggle buttons Scroll bars Calendars Status Bar

การติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface: GUI) ListBox TextBox Radio Button ComboBox

การควบคุมความถูกต้องในระหว่างป้อนข้อมูล (Controlling Data Input) ควรตรวจสอบชนิดของข้อมูล ควรตรวจสอบการป้อนข้อมูลไม่ครบตามที่ระบุไว้ ควรตรวจสอบรูปแบบที่ป้อนข้อมูล ควรตรวจสอบค่าสูงสุดและต่ำสุดของข้อมูล ควรตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลในแต่ละฟิลด์

การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) มีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ แจ้งสถานะการทำงาน (Status Information) แสดงความพร้อมในการรับคำสั่ง (Prompting Cues) ข้อความแจ้งหรือเตือนเมื่อมีข้อผิดพลาด (Error/Warning Messages)

แจ้งสถานะการทำงาน (Status Information) แจ้งให้ผู้ใช้ทราบถึงความสถานะปัจจุบันในกาทำงานของระบบ เช่น แสดงเลขหน้าที่กำลังทำงานอยู่ แสดงความคืบหน้าในการประมวลผล Combination of Text and Graphics for End User feedback

แสดงความพร้อมในการรับคำสั่ง (Prompting Cues) เป็นการออกแบบเพื่อแจ้งสถานะความพร้อมในการรับคำสั่ง เช่น หน้า Login เข้าระบบ cursor กระพริบรอรับ username หรือ กรุณาป้อนรหัสวิชา :_ _ _-_ _ _

ข้อความแจ้งหรือเตือนเมื่อมีข้อผิดพลาด (Error/Warning Messages) การแสดงข้อความเมื่อเกิดข้อผิดพลาด และแนะแนวทางในการแก้ไข เพื่ออธิบายให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้

การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) สามารถใช้งานง่าย (Simplicity) มีการจัดรูปแบบอย่างเป็นระเบียบ (Organization) มีการแสดงตัวอย่าง (Example)

การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) Poorly designed help display Improved designed help display

การออกแบบควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ จำกัดความสามารถในการมองเห็นข้อมูลจากฐานข้อมูล (View/Subschema) สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล (Authorization Rules) การเข้ารหัส (Encryption Procedures) การตรวจสอบการเข้าใช้ระบบ (Authentication schemas)

เลขลำดับที่อ้างอิงมา การออกแบบลำดับการเชื่อมโยงจอภาพ เป็นการออกแบบลำดับของการแสดงส่วนติดต่อกับผู้ใช้ของโปรแกรม หรือลำดับของการแสดงส่วน User Interface ทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ แผนภาพแสดงลำดับการเชื่อมโยงจอภาพ (Dialogues Diagram) ประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนบน: เลขลำดับหน้าจอ ส่วนกลาง: ชื่อหน้าจอการทำงาน ส่วนล่าง: เลขลำดับหน้าจอที่อ้างอิงมา ต่อไป หรือ ย้อนกลับ เลขลำดับหน้าจอ ชื่อหน้าจอการทำงาน เลขลำดับที่อ้างอิงมา

Reference Book and Text Book ตำราอ้างอิง การวิเคราะห์และออกแบบระบบ กิตติ ภักดีวัฒนกุล และพนิดา พานิชกุล Modern Systems Analysis & Design : Jeffrey A. Hoffer, Joey F.George, Joseph S. Valacich

Q & A