START.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
Collaborative problem solving
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
การนำเสนอผลงานการวิจัย
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
ใบสำเนางานนำเสนอ:

START

หน่วยที่ 4 เปิดโลกการเรียนรู้ด้วยกิจกรรม เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ หน่วยที่ 4

เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ GURU Online e-Training for Thai Teachers เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้

เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ GURU Online e-Training for Thai Teachers เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ หลักสูตร แผนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล กิจกรรมเสนอแนะ หลักการเขียนแผนการสอน กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน การกำหนดวิธีวัดและประเมินผล แนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เทคนิคการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง

รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ GURU Online e-Training for Thai Teachers รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

CIPPA Model GURU Online e-Training for Thai Teachers C - Construct การให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยความรู้ด้วยตนเอง โดยการศึกษาค้นคว้า หาข้อมูล ทำความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ แปลความ ตีความ สร้างความหมาย สังเคราะห์ข้อมูล และสรุปเป็นข้อความรู้ I - Interaction การให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ ข้อมูล ความคิด ประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน P - Participation คือ การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ ปัญญาและสังคม ในการเรียนรู้ให้มากที่สุด P - Process and Product การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ และมีผลงานจากการเรียนรู้ A - Application การให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์หรือใช้ในชีวิตประจำวัน CIPPA Model

Individual Study GURU Online e-Training for Thai Teachers ครูหรือผู้เรียน เป็นผู้กำหนดหัวข้อปัญหา หรือโครงงานตามสาระการเรียนรู้ที่กำหนด โดยผู้เรียนต้องศึกษา วิเคราะห์ สรุปอ้างอิงและสรุปข้อความรู้บนพื้นฐานของการวิเคราะห์ และประเมินผลกระบวนการ ครูต้องใช้เทคนิคการประเมินในด้านการให้ข้อมูลป้อนกลับ และการตรวจแก้งาน โดยใส่ไว้ในสื่อที่ผู้เรียนใช้ หรือใช้ร่วมกันไปกับกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน Individual Study

Individual Study GURU Online e-Training for Thai Teachers ครูมีบทบาทช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะและนิสัยการเรียนรู้อย่างอิสระ โดยจัดสิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนให้ส่งเสริมความเป็นอิสระ ให้ผู้เรียนมั่นใจในตนเอง อยากรู้อยากเห็นและปรารถนาที่จะเรียนรู้ โดยครูอาจจัดชั้นเรียนเป็นศูนย์การเรียน จัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Activity Packages) Individual Study

Individual Study GURU Online e-Training for Thai Teachers การศึกษาเป็นรายบุคคล สามารถปรับใช้ได้ในหลาย ๆ สถานการณ์ ตั้งแต่การเรียนในชั้นเรียนที่มีครูคอยควบคุม จนถึงการฝึกทักษะการศึกษาค้นคว้าในห้องสมุดที่ผู้เรียนต้องกำกับการเรียนรู้ของตน โดยหัวข้อที่ศึกษาจะเป็นไปตามข้อกำหนดของรายวิชาหรือไม่ก็ได้ ครูอาจใช้วิธีนี้กับผู้เรียนทั้งห้องเรียน กับกลุ่ม หรือกับผู้เรียนแต่ละคนก็ได้ Individual Study

GURU Online e-Training for Thai Teachers กิจกรรมที่ครูสามารถเลือกใช้ให้ผู้เรียนปฏิบัติในการศึกษาเป็นรายบุคคล มีดังนี้ รายงาน การระดมพลังสมอง การค้นคว้าอย่างอิสระ เรียงความ การแก้ปัญหา การเรียนเสริม โครงงาน การตัดสินใจ ศูนย์การเรียน แบบจำลอง คู่สัญญา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การทำนิตยสาร การสืบค้น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน เกม การมอบหมายงานเป็นรายบุคคล

Interactive Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นการปฏิสัมพันธ์ (Interactive Instruction) เน้นการอภิปราย การแบ่งปันความรู้ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การถาม-ตอบ และการทำงานกลุ่มย่อยแบบร่วมมือกัน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีปฏิกิริยา และตอบสนองต่อความรู้ประสบการณ์ และความคิดเห็นของครูและเพื่อนๆ ผู้เรียนจะได้ฝึกการจัดระบบความคิด การโต้แย้งอย่างมีเหตุผล และการพัฒนาทักษะทางสังคม Interactive Instruction

Interactive Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers กิจกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นการปฏิสัมพันธ์ ประกอบด้วย การโต้วาที กลุ่ม Buzz การอภิปราย การระดมพลังสมอง การเรียนแบบร่วมมือ การประชุมแบบต่าง ๆ กลุ่มแก้ปัญหา กลุ่มติดบทบาทสมมติ Interactive Instruction

Experiental Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นประสบการณ์ (Experiental Instruction) เป็นวิธีการส่งเสริมการรับความรู้จากประสบการณ์ และการสะท้อน (Reflection) ความคิดเห็นที่มีต่อสิ่งต่างๆ ทั้งด้านเทคนิควิธีการปฏิบัติของผู้เรียนแต่ละบุคคล และกระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้ตรวจสอบการเรียนรู้ของตน และได้รับประสบการณ์ด้านอารมณ์ความรู้สึกที่จะนำมาปรับความรู้สึก เจตคติ และค่านิยมของตน Experiental Instruction

Experiental Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers ประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียน ประกอบด้วย เกม (Game) ละคร (Action or Dramatization) บทบาทสมมุติ (Role-Play) สัมภาษณ์ (Interviewing) Experiental Instruction

Learning GURU Cooperative Online e-Training for Thai Teachers การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มประกอบด้วย สมาชิกที่มีความรู้ ความสามารถแตกต่างกัน แต่ละคนมีส่วนร่วมอย่าง แท้จริงในการเรียนรู้ และใน ความสำเร็จของกลุ่ม ทั้งโดย การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแบ่งบันทรัพยากร การเรียนรู้ รวมทั้งการเป็น กำลังใจแก่กันและกัน Cooperative Learning

Learning GURU Cooperative Online e-Training for Thai Teachers การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ คนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนที่อ่อนกว่า สมาชิกในกลุ่มไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อ การเรียนของตนเองเท่านั้น หากแต่จะ ต้องร่วมรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพื่อน สมาชิกทุกคนในกลุ่ม ความสำเร็จของ แต่ละบุคคลคือความสำเร็จของกลุ่ม Cooperative Learning

องค์ประกอบหลักของการเรียนแบบร่วมมือ GURU Online e-Training for Thai Teachers องค์ประกอบหลักของการเรียนแบบร่วมมือ (Key Elements of Cooperative Learning)

GURU Online e-Training for Thai Teachers การพึ่งพาอาศัยกันในทางที่ดี (Positive Interdependence) การสร้างทีมในการทำงาน (Team formation) ความรับผิดชอบ (Accountability) ทักษะทางสังคม (Social Skills) โครงสร้างและการจัดโครงสร้างการเรียนรู้ (Structures and Structuring of Learning)

GURU Online e-Training for Thai Teachers ประโยชน์ของการเรียนแบบร่วมมือ (Advantages of Cooperative Learning) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกว่า การเรียนแบบอื่น สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง สมาชิกทุกคนมีโอกาสคิด พูด แสดงออกแสดงความคิดเห็น ลงมือ กระทำอย่างเท่าเทียมกัน เสริมให้นักเรียนรู้จักช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ทำให้รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การร่วมคิด การระดมความคิด ส่งเสริมทักษะทางสังคม เสริมทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทำงานเป็นกลุ่ม สามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้

GURU Online e-Training for Thai Teachers การเรียนแบบร่วมมือสามารถนำมาใช้ได้กับการเรียนทุกวิชาและทุกระดับชั้น และจะมีประสิทธิผลยิ่งกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนในด้านการแก้ปัญหา การกำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ การคิดแบบหลากหลาย การปฏิบัติภารกิจที่ซับซ้อน การเน้นคุณธรรม จริยธรรม การเสริมสร้างประชาธิปไตยในชั้นเรียน ทักษะทางสังคม การสร้างนิสัยความรับผิดชอบร่วมกัน และความร่วมมือภายในกลุ่ม

Friends help Friends GURU Online e-Training for Thai Teachers การเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนพัฒนาการเรียนรู้ (Friends help Friends) กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนเป็นโอกาสให้นักเรียนเรียนเก่ง เกิดความภูมิใจในตนเอง มีเมตตา รู้จักมีน้ำใจช่วยเหลือผู้ที่อ่อนแอกว่า หรือผู้ที่เรียนรู้ได้ช้ากว่าและนักเรียนเรียนอ่อนได้รับความช่วยเหลือให้บรรลุเป้าหมายพร้อมเพื่อนในเวลาที่กำหนด Friends help Friends

GURU วิธีจัดกิจกรรม Online e-Training for Thai Teachers สมาชิกในกลุ่มมี 4 – 6 คน กำหนดหน้าที่ของแต่ละคนในกลุ่มให้ชัดเจน นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย โดยมีการช่วยเหลือระหว่างเด็กเก่งและเด็กอ่อนหรือเด็กที่เก็บตัว ไม่ชอบพูดหรือแสดงออก โดยกำหนดเกณฑ์การทำงานร่วมกัน เช่น ศึกษาใบความรู้ อภิปราย ซักถาม และนำเสนอความรู้ สมาชิกแต่ละกลุ่มแข่งขันกันทำงานให้มีประสิทธิภาพ และรวดเร็วเพื่อ เป็นกลุ่มตัวแทนของห้องในการรับการตรวจสอบ แก้ไข และรับรองความถูกต้องจากครูผู้สอน สมาชิกที่ได้รับการรับรองความถูกต้องของชิ้นงานแล้ว แยกย้ายกันไป ดูแล ตรวจสอบ แก้ไข และรับรองความถูกต้องแก่กลุ่มอื่น ๆต่อไป

ประโยชน์ GURU Online e-Training for Thai Teachers ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสช่วยเหลื่อซึ่งกันและกัน นักเรียนที่เก่งได้มีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเอง นักเรียนที่เรียนอ่อนหรือนักเรียนที่ไม่กล้าแสดงออกได้รับความช่วยเหลือ ดูแลอย่างใกล้ชิดจากสมาชิกในกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีความรับผิดชอบ นักเรียนได้ฝึกความเป็นผู้นำ มีบรรยากาศการเรียนที่สนุกสนาน ประโยชน์

Integrated Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ บูรณาการ หมายถึง การนำศาสตร์ต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน มาผสมผสานกันเพื่อประโยชน์ในการดำเนินการ การจัดเรียนการสอนแบบบูรณาการ จึงเป็นการนำเอาความรู้สาขาวิชาต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันมาผสมผสานกัน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเกิดประโยชน์สูงสุด การเรียนการสอนแบบบูรณาการจะเน้นองค์รวมของเนื้อหา มากกว่าองค์ความรู้ของแต่ละรายวิชา และเน้นที่การสร้างความรู้ของผู้เรียนมากกว่าการให้เนื้อหาโดยตัวครู Integrated Instruction

Integrated Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers ลักษณะสำคัญของการบูรณาการ เป็นการบูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการระหว่างพัฒนาการทางด้านความรู้และทางด้านจิตใจ เป็นการบูรณาการระหว่างความรู้และการปฏิบัติ เป็นบูรณาการระหว่างสิ่งที่อยู่ในห้องเรียนกับสิ่งที่เป็นอยู่ในชีวิตจริง เป็นบูรณาการระหว่างวิชาต่าง ๆ Integrated Instruction

Integrated Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers ประเภทของบูรณาการ แบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) กำหนดหัวข้อ (Theme) ขึ้นมานำความรู้จากวิชาต่าง ๆ มาเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กับหัวเรื่องนั้น บางครั้งเรียกการบูรณาการแบบนี้ว่า สหวิทยาการแบบมีหัวข้อ(Thematic Interdisciplinary Studies) หรือ สหวิทยาการแบบเน้นการประยุกต์ใช้ (Application-First Approach) Integrated Instruction

Integrated Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers แบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) เป็นการนำเรื่องที่ต้องการจะบูรณาการไปสอดแทรก (Infusion) ในวิชาต่าง ๆ บางครั้งเรียกการบูรณาการแบบนี้ว่า การบูรณาการแบบเน้นเนื้อหา (Discipline-First Approach) Integrated Instruction

Integrated Instruction GURU Online e-Training for Thai Teachers หลักการสำคัญที่จะต้องคำนึงถึงในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดประสบการณ์ตรงให้กับผู้เรียน เน้นการปลูกฝังจิตสำนึก ค่านิยม และจริยธรรมที่ถูกต้อง จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิด กล้าทำ ให้ผู้เรียนได้ร่วมคิดร่วมทำ Integrated Instruction

GURU Online e-Training for Thai Teachers รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ CIPPA Model การศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study) การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นการ ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Instruction) การเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนพัฒนา การเรียนรู้ (Friends help Friends) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

อาจารย์นนทพร โพธิ์เงินนาค GURU Online e-Training for Thai Teachers บรรยาย โดย อาจารย์นนทพร โพธิ์เงินนาค ครูต้นแบบภาษาอังกฤษ พ.ศ.----- วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก อ.เมือง จ.พิษณุโลก

STOP