ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีทางอาชีพ ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of Vocational Choice) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory) ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของซูเปอร์ (Super’s Theory of Vocational Development) ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) 2
ทฤษฎีทางอาชีพ 1. กลุ่มที่มุ่งความต้องการทางจิตวิทยา Hoppock’s Composite Theory Holland’s Theory of Vocational Choice Roe’s Theory 2. กลุ่มที่มุ่งทางพัฒนาการของอัตตา Ginzberg and Associates’ Theory Super’s Theory of Vocational Development Tiedman and O’Hara Theory of Career Development
ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) พัฒนาการทางอาชีพเป็นกระบวนการที่บุคคลใช้การทำงานเป็นวิธีการแสดงออกทางบุคลิกภาพ และเป็นการปรับตัวทางสังคม
การตัดสินใจ เป็นหัวใจของการพัฒนาการทางอาชีพ การตัดสินใจไม่ว่าด้านการเรียน การทำงาน หรือพฤติกรรมประจำวัน ล้วนมีส่วนเสริมสร้างที่จะทำให้เป็นรูปแบบของพัฒนาการทางอาชีพของบุคคลนั้น การตัดสินใจเกิดในช่วงเวลายาวนานตลอดชีวิต และการตัดสินใจแต่ละครั้งก็มีผลต่อเนื่องไปถึงการตัดสินใจอื่นๆ ที่ตามมา
Tiedeman and O’ Hara ได้แบ่งระยะของพัฒนาการด้านอาชีพเป็น 2 ระยะใหญ่ๆ โดยใช้แนวความคิดของ Erikson ได้แก่
1. Preoccupation ในขั้นนี้แบ่งเป็น 4 ขั้น Exploration Stage หรือขั้นศึกษา แสวงหาอาชีพต่างๆ Crystallization Stage หรือขั้นก่อตัว ความชัดเจนของข้อมูลอาชีพมีมากขึ้น Choice Stage หรือขั้นทดลองเลือกอาชีพโดยการเข้าไปทำอาชีพนั้น Clarification Stage หรือขั้นพิจารณารายละเอียดของอาชีพกับความสามารถของตนเอง
2. Implementation and Adjustment ในขั้นนี้ บุคคลได้เริ่มประกอบอาชีพแล้วมีพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 3 ขั้น Induction Stage ขั้นเข้ารับการฝึกอาชีพในสาขาที่ตนเองต้องการ Reformation Stage ขั้นปรับปรุงความสามารถของตนให้เหมาะกับอาชีพ Integration Stage ขั้นความมั่นคงเมื่อต้องการสร้างความก้าวหน้าและความมั่นคงในอาชีพ
ซักถาม-อภิปราย