สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
หลักเทคนิคการเขียน SAR
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การดำเนินงานต่อไป.
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติดี ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) การประกันคุณภาพการศึกษา

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.กรุงเทพ มุ่งเน้นการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ในการกำหนดเป้าหมายการประกันคุณภาพ โดยใช้ Ms.Excel ร่วมกับการประยุกต์วงจรคุณภาพ PDCA P (Plan) => วางแผน กำหนดเป้าหมาย KPI D (Do) => เก็บข้อมูล ง่ายต่อการสืบค้น ปรับแก้ไขได้ C (Check) => เปรียบเทียบข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้อง A (Act) => บันทึกข้อมูลเพื่อเป็นฐานการพัฒนา

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.ล้านนา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพสำหรับบุคลากรสายสนับสนุน เพื่อผลักดันในเกิดความเข้าใจ และส่งเสริมการประกันคุณภาพของส่วนงานสนับสนุน โดยมีการจัดทำ SAR และกำหนดตัวบ่งชี้ร่วมและตัวบ่งชี้เฉพาะหน่วยงานที่จะส่งผลต่อระดับคณะและระดับมหาวิทยาลัย ส่งเสริมให้เกิดการดำเนินงานประกันคุณภาพแบบมีส่วนร่วม ส่งผลต่อวัฒนธรรมคุณภาพขององค์กร

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.ศรีวิชัย การดำเนินงานประกันคุณภาพที่มุ่งเน้นที่เป้าหมายและชัดเจน โดยกำหนดเป็นคู่มือการประกันคุณภาพ SRIVIJAYA QA#2 เพื่อเป็นเครื่องมือในการให้การดำเนินการในทิศทางเดียวกัน กำหนดให้บุคลากรที่รับผิดชอบการประกันคุณภาพจัดทำ Portfolio เพื่อรวบรวมข้อมูลผลงานระดับบุคคล การให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพแก่ทุกคนทุกระดับ เพื่อแก้ปัญหาการหมุนเวียนบุคลากรที่ทำงานประกันคุณภาพ

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.รัตนโกสินทร์ จัดตั้ง “คลินิคการประกันคุณภาพ” เพื่อแก้ไขปัญหาและสนับสนุนงานด้านการประกันคุณภาพ โดยเฉพาะการประสานงานระหว่างพื้นที่ที่อยู่ไกลและมีความแตกต่างกัน มีการปรับข้อมูลและติดตามความก้าวหน้าของการประกันคุณภาพในทุก 3 เดือน เพื่อรองรับการตรวจประเมินประจำปี

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.พระนคร พัฒนาระบบ IQA (Internal Quality Audit System) เพื่อติดตามและตรวจสอบข้อมูลการประกันคุณภาพได้แบบ Online Real time วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บริหารสามารถติดตามข้อมูลและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศดังกล่าวในการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร ลดต้นทุน (เอกสาร เวลา ฯลฯ) และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.ธัญบุรี มุ่งเน้นการพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่ายการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอก นำหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพอาเซียน (AUN-QA) มาปรับใช้กับมหาวิทยาลัยฯ เพื่อผลักดันให้มหาวิทยาลัยมุ่งสู่สากลอย่างแท้จริง

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.อีสาน ประยุกต์ระบบ ISO มาใช้ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ กำหนดคู่มือการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอก ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ (1) ระดับมหาวิทยาลัย (2) ระดับคณะ และ (3) ระดับหน่วยงานสนับสนุน ให้ครอบคลุมทั้ง 5 พื้นที่ 20 หน่วยงาน จัดเก็บข้อมูลและติดตามความก้าวหน้าโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.สุวรรณภูมิ มุ่งเน้นการติดตามเอกสารหลักฐานในการประกันคุณภาพ โดยการออกแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลร่วมกันของผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และง่ายต่อการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า มทร.ตะวันออก สร้างความรู้ ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ โดยเฉพาะผู้บริหารเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการผลักดันเป้าหมายที่กำหนดให้สามารถบรรลุได้ ออกแบบเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลอย่างมีระบบ จัดโครงการอบรมผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน และขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจประเมินของ สกอ. เพื่อให้บุคลากรเหล่านั้นฝังตัวอยู่ในทุกหน่วยงานและเกิดคุณภาพอย่างแท้จริง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factors) การมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร ความรู้ความเข้าใจ ผู้บริหารในความสำคัญ การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ “วัฒนธรรมคุณภาพ”

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factors) “รู้ เข้าใจ และก้าวไปด้วยกัน”