วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์

นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววรรณนิกา บุญประเสริฐ

ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน วิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ผู้วิจัย : นางนราภรณ์ ฟองสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย การจัดกระบวนการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ในปัจจุบัน ประสบปัญหาทั้งในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านคุณภาพการศึกษา ด้านพฤติกรรมการสอนของครู ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา สภาพความพร้อมและปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาการด้านคอมพิวเตอร์ที่มีความเจริญก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งเรื่อง ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ 2102 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ จำนวน 23 คน เป็นนักศึกษาชาย 4 คน และ นักศึกษาหญิง 19 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเจาะจง กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ 2102 ประชากร

กรอบแนวคิดการวิจัย การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ปรับปรุงการเรียนการสอน วิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน วิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ การเรียนการสอน วิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ มีคุณภาพ

ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ 1 แบบทดสอบ 2 แบบฝึกทักษะภาคปฏิบัติ 3 แบบวัดทักษะการปฏิบัติงาน 4 แบบสังเกตพฤติกรรม 8 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ 5 แบบบันทึกความก้าวหน้าของนักศึกษา 6 แบบบันทึกด้านการเรียนของนักศึกษา 7 แฟ้มสะสมงานและชิ้นงาน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการทบสอบเมื่อจบ 3 หน่วยการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เกณฑ์ ผ่าน คะแนน จำนวนคน หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 หน่วยที่ 5 ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ดีมาก 80 ขึ้นไป 11 13 15 17 16 18 ดี 70 - 79 6 5 4 พอใช้ 60 - 69 3 2 1 50 - 59 ซ่อมเสิรม ต่ำกว่า 50 รวม 23

สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ขาดความมีวินัยและขาดความรับผิดชอบ มักพูดมาก ชอบคุย ครูผู้สอนเข้มงวดมากเกินไป หลังจากทำการวิจัยแล้วพบว่า นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการใช้โปรแกรมดีขึ้น และมีการปรับเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชั้นเรียนไปในทางที่ดีขึ้น รวมถึงการเจตคติที่ดีต่อการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์ และต่ออาจารย์ผู้สอน อาจารย์ผู้สอนได้สะท้อนความรู้สึกนึกคิดของตนเองและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนแล้วได้แนวทางการสอนที่ส่งผลให้การเรียนการสอนโปรแกรมประมวลผลคำประยุกต์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะการวิจัย การทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ควรทำเป็นทีม เพื่อแก้ไขปัญหาที่มีคล้าย ๆ กัน ควรมีการทำการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง กับกลุ่มเป้าหมายเดิมและกลุ่มเป้าหมายใหม่ ควรมีการศึกษารายกรณี ของนักศึกษาที่ขาดเรียนบ่อย ๆ หรือไม่สนใจเรียน

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ