10 พฤศจิกายน 2552 ณ ห้องประชุม สสจ.มุกดาหาร 1 การประชุม คณะทำงานจัดทำแผน โครงการ ตามแผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร(ด้านสังคม) ตามคำสั่งจังหวัดมุกดาหารที่ 1865 / 2552 ลว.16 ก.ย.2552 10 พฤศจิกายน 2552 ณ ห้องประชุม สสจ.มุกดาหาร 1
วาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ จังหวัดแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนงาน โครงการตามแผน พัฒนาจังหวัดด้านสังคมตามประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาคน สังคม และคุณภาพชีวิต ตามคำสั่งที่ 1865/2552 ลว. 16 กย.52 ให้ทำหน้าที่ ร่วมกันปรึกษาหารือ ทบทวน กลั่นกรองแผนงาน โครงการ ของส่วนราชการ หน่วยงาน ที่เสนอขอ งบฯ เพื่อรวบรวม จัดทำเป็นแผนงานโครงการ รองรับประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดด้านสังคม รายละเอียด คำสั่งฯแจกพร้อม วาระการประชุมแล้ว และสำหรับแผนงาน โครงการ ประจำปี 2554 ส่วนกลาง ขอให้จังหวัดทบทวน และจัดทำข้อเสนอเป็นคำขอ งบฯ ส่งให้ส่วนกลาง ภายใน 23 พฤศจิกายน 2552 จึงได้เรียนเชิญ คณะทำงานมาร่วมประชุมในวันนี้
วาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา วาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นการประชุมครั้งแรก จึงไม่มีการรับรอง วาระที่ 3 เรื่อง ติดตามผลการประชุมครั้งที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นการประชุมครั้งแรก จึงไม่มีเรื่องที่จะติดตาม วาระที่ 4 เรื่อง เพื่อพิจารณา การพิจารณา รายละเอียดแผนงาน โครงการ ตามแผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร ด้านสังคม ตามประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาคน สังคม และคุณภาพชีวิต เพื่อให้ คณะทำงานได้มีข้อมูลเป็นปัจจัยนำเข้า เพื่อประกอบการพิจารณา ขอให้ฝ่ายเลขาฯ ได้ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ที่ประชุมก่อน
วาระที่ 4 เรื่อง เพื่อพิจารณา วาระที่ 4 เรื่อง เพื่อพิจารณา ฝ่ายเลขาฯได้เรียนเชิญ ผู้รับผิดชอบด้านการวางแผนของส่วนราชการ ตามคำสั่ง ที่ 1865 ลว. 16 กย. 52 มาหารือเบื้องต้น เมื่อวันที่ 5 พย. 52 ที่ผ่านมา เพื่อทบทวนแผนยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหาร ข้อเสนอ ข้อสังเกตของ คณะอนุกรรมการ ที่รัฐบาลตั้ง 5 คณะ เพื่อพิจารณากลั่นกรองแผนจังหวัด หลักเกณฑ์ เงื่อนไข การขอ งบฯ ที่ส่วนกลางกำหนดให้ รวมทั้งการ พิจารณากลั่นกรองแผนงาน โครงการของส่วนราชการ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำเสนอเป็นข้อมูลเบื้องต้น ให้คณะทำงานได้ใช้ประกอบการพิจารณา ฝ่ายเลขาฯ ขออนุญาตนำเสนอผลการประชุมเพื่อเป็นปัจจัยนำเข้า ดังนี้
ผลการทบทวนแผนยุทธศาสตร์จังหวัดและความเชื่อมโยงเป้าหมาย แผนงาน โครงการ จุดมุ่งหมาย : การเป็นเมืองการค้าการท่องเที่ยวชายโขง ตัวชี้วัด : ความมั่งคั่ง มั่นคง สงบสุข ยั่งยืน พันธะกิจ 1. พัฒนาการค้า ลงทุน ท่องเที่ยว 2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. ส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. สร้างความสมดุลของระบบเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาเกษตร/อุตสาหกรรม 3. พัฒนาการค้าชายแดน 2. พัฒนาการท่องเที่ยว 6. รักษา ความ มั่นคง ชายแดน 4. พัฒนาคน สังคมและคุณภาพชีวิต 5.จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ มีคุณภาพ แข่งขันได้ ยกระดับฝีมือแรงงานและผลิตแรงงานระดับฝีมือ เทคนิค วิชาชีพ แข่งขันได้ ปชช.ได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและบริการทางการแพทย์/สา’สุขแบบองค์รวมที่มีคุณภาพ ประชาชนมีภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรม เชิดชูคุณค่าความเป็นไทยและสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสในสังคม คงความเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า
ความเชื่อมโยงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์กับกลยุทธ์การพัฒนาคน สังคมและคุณภาพชีวิต กลยุทธ์ 1. พัฒนาสถานศึกษาและ ระบบการให้บริการทางการศึกษา กลยุทธ์ 2. ส่งเสริมอาชีพ เพิ่มรายได้ และ คุ้มครองแรงงาน กลยุทธ์ 7. เสริมสร้างความมั่นคง สงบสุข และความปลอดภัยในสังคม กลยุทธ์ 3. พัฒนาสถานพยาบาล และระบบการให้บริการ ทางการแพทย์/สา’สุข เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ 5 ประการ กลยุทธ์ 6. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกในคุณธรรม จริยธรรมส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง กลยุทธ์ 4. ส่งเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น กลยุทธ์ 5. จัดระบบดูแลและจัดสวัสดิการ แก่ผู้สูงอายุผู้พิการและด้อยโอกาส กลยุทธ์ 8. พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ เอกชน การเสริมสร้างสังคม ประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม
ตัวชี้วัดผลการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหารด้านสังคม เป้าหมายการพัฒนา : ตัวชี้วัดผลการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหารด้านสังคม ปี พ.ศ. 2553 - 2556 ค่าเป้าหมาย : Target ตัวชี้วัด : KPIs 2553 2554 2555 2556 2553-2556 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของสถานศึกษา/แหล่ง เรียนรู้ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพ 20 40 60 80 80 ร้อยละที่ลดลงของอัตราการเจ็บป่วย ด้วยโรคที่ป้องกันได้ ( อย่างน้อยปีละ ) 10 10 10 10 10 @ ให้ความสำคัญรอง 1. ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน 2. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราความครอบคลุมการได้รับ สวัสดิการของผู้สูงอายุ /ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราความครอบคลุมของชุมชนเข้มแข็ง
หลักเกณฑ์การพิจารณาทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด หลักการ 1. นำนโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ/สังคมชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด เป็นกรอบหลักพิจารณา 2. เน้นการทำงานแบบเครือข่าย/ทำงานร่วมกันทุกภาคส่วน/บูรณาการแผน/คำนึงถึงความพร้อมของรัฐ อปท. เอกชน ในการสนับสนุนและร่วมลงทุน 3. ให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วม นำแผนชุมชนมาประกอบการทำแผนจังหวัด 4. ให้ความสำคัญกับกลุ่มจังหวัด ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัด 1. มุ่งพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวม ครอบคลุมทุกมิติ(เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง)เพื่อคุณภาพชีวิตสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ 2. โครงการที่กำหนดต้องสอดคล้อง/เชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดโดยมีลักษณะโครงการดังนี้ ดำเนินการตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ฟื้นฟู/พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว พัฒนาเศรษฐกิจ/สังคมเฉพาะพื้นที่ เป็นโครงการแก้ปัญหา/เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ผลลัพธ์มีความคุ้มค่า
ลักษณะโครงการที่ไม่ให้เสนอเป็นคำของบประมาณ มีวัตถุประสงค์หลักในการซื้อครุภัณฑ์ ทำหรือซ่อมถนน ขุดลอกคลองและพัฒนาแหล่งน้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับการศึกษา อบรม ดูงาน (ยกเว้นฝึกอาชีพ การวิจัยแก้ปัญหาสำคัญของพื้นที่หรือทำแผนแม่บทซึ่งมีความสัมพันธ์กับแผนพัฒนาจังหวัด เป็นโครงการในลักษณะกิจกรรมย่อย(หน่วยงานต้องบูรณาการ ภารกิจ/กิจกรรมของหน่วยงาน) เป็นโครงการที่เน้นเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งในระดับชุมชนย่อย เป็นโครงการบริการสาธารณะหรือบริการประชาชนซึ่งเป็นภารกิจของส่วนราชการ/อปท. เป็นโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับที่อนุมัติในแผน SP2
มีความสอดคล้องกับนโยบาย แนวทางการพัฒนาตามประเด็นยุทธศาสตร์ ผลการพิจารณาแผนและโครงการที่เสนอเป็นคำของบประมาณ ของ คณะอนุกรรมการ กนจ. ด้านแผน/งบประมาณ มีความสอดคล้องกับนโยบาย แนวทางการพัฒนาตามประเด็นยุทธศาสตร์ คุณภาพแผน ส่วนใหญ่ยังไม่ได้คุณภาพ ขาดการบูรณาการในการวางแผนร่วมกัน แผนจังหวัดขาดการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของปัญหา โอกาสการพัฒนา ขาดการบูรณาการของภาคส่วนต่าง ๆ(ต่างหน่วยต่างเสนอ) คุณภาพโครงการ ไม่ยึดหลักจากเป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ โครงการของจังหวัดขาดรายละเอียดการดำเนินงาน โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานไม่เชื่อมโยงกระบวนการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อเนื่องกับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมที่ประเมินได้
ผลการวิเคราะห์คุณภาพแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด “ สนุก ”/จังหวัดมุกดาหาร ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการ กนจ. เพื่อการปรับปรุงแผนงาน โครงการจังหวัด ปรับปรุงแผน โครงการให้มีคุณภาพและให้มีการบูรณาการทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภูมิภาค อปท. เอกชน ชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ/ขั้นตอนการจัดทำแผนงาน โครงการ ทบทวน ปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดให้สมบูรณ์และมีคุณภาพ ผลการวิเคราะห์คุณภาพแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด “ สนุก ”/จังหวัดมุกดาหาร แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ครอบคลุมทุกด้าน มีการวิเคราะห์สภาพปัญหา โอกาสการพัฒนา แต่มีเป้าประสงค์มากกว่าแนวทางการดำเนินงาน โครงการส่วนใหญ่เป็นโครงการระดับจังหวัด ขาดความเชื่อมโยงและเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน แผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร ครอบคลุมทุกด้านมากเกินไป(ไม่มีจุดเน้น) ขาดการวิเคราะห์สภาพปัญหา โอกาสการพัฒนา ก่อนนำมากำหนดยุทธศาสตร์ โครงการส่วนใหญ่เน้นการฝึกอบรมแต่มีรายละเอียดไม่ชัดเจนในการฝึกอบรม โดยเฉพาะโครงการเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยงานที่ขอโครงการยังไม่ตรงกับภารกิจของหน่วยงาน
ลักษณะโครงการที่เสนอขอ ผลการพิจารณาแผนและโครงการที่เสนอเป็นคำของบประมาณ ภายใต้แผนพัฒนาคน สังคม และคุณภาพชีวิตที่ดี มีหน่วยงานที่เสนอคำขอทั้งหมด 32 หน่วยงาน จำนวนโครงการที่เสนอขอทั้งหมด 4 แผนงาน 173 โครงการ วงเงินงบประมาณที่เสนอขอ จำนวน 407 ล้านบาทเศษ ลักษณะโครงการที่เสนอขอ เป็นโครงการของหน่วยดำเนินการ ยังไม่มีการบูรณาการภายในหน่วยงาน เป็นโครงการที่เป็นลักษณะกิจกรรมย่อย ไม่มีข้อมูลอ้างอิงที่สามารถเชื่อมโยงกับเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดทางด้านสังคมที่กำหนดไว้ในปี 2553-2556 (อาจเป็นเพราะตัวที่วัดที่กำหนดไม่ครอบคลุม) ไม่สะท้อนให้เห็นสภาพปัญหา โอกาสการพัฒนาและความจำเป็นต้องการของพื้นที่ (อาจเป็นเพราะไม่มีการวิเคราะห์สภาพปัญหา และการทำแผนงาน/โครงการของหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ได้เริ่มต้นที่เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดของแผนพัฒนาจังหวัด ต่างหน่วยงานต่างเสนอ ไม่มีโอกาสได้หารือร่วมกัน) โครงการด้านการอบรม ยังขาดรายละเอียด ข้อมูลที่จะใช้อธิบายการนำผลที่เกิดจากการอบรมไปพัฒนาจังหวัดต่อไปได้ มีจำนวนโครงการมาก ไม่มีข้อมูลเพียงพอจะจัดลำดับ ยุบรวมโครงการต่าง ๆ ได้ ควรต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถอธิบายเจ้าของโครงการได้ รายละเอียดบัญชีโครงการตามเอกสารแจกที่ประชุม
ข้อเสนอเพื่อการทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร(ด้านสังคม) ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์การพัฒนาด้านสังคมร่วมกันบนพื้นฐานข้อมูล ข้อเท็จจริงของพื้นที่ในบริบทปัจจุบันซึ่งส่วนราชการต่าง ๆ สามารถทบทวนได้จากข้อมูลของส่วนราชการที่มีอยู่และนำมาแลกเปลี่ยน หารือ ร่วมกัน เพื่อกำหนดเป็นแผนงาน โครงการภาพรวมจังหวัด อาจจำเป็นต้องเพิ่มเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดการพัฒนาปี 2553-2556 ให้ครอบคลุมปัญหาทางด้านสังคม (ด้านแรงงาน สวัสดิการสังคม ชุมชนเข้มแข็ง) เพื่อจะสามารถเชื่อมโยงโครงการที่หน่วยงานต่าง ๆ เสนอคำขอมา ตัวแผนงาน โครงการ ควรเพิ่มให้ครอบคลุม 8 ประเด็น กลยุทธ์ ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายตัวชี้วัดหลักปี(53-56)รับเป็นเจ้าภาพหลักนำแผนงาน โครงการที่หน่วยงานต่าง ๆ เสนอขอไปทบทวน กลั่นกรอง ปรับปรุง บูรณาการ ยุบรวมกิจกรรม โครงการของหน่วยย่อยเป็นโครงการระดับจังหวัด (โครงการบางส่วนอาจกลายเป็นกิจกรรมในโครงการจังหวัด) เช่นด้านการศึกษาอาจมอบให้ สพท. หรือ วชช./ว.การอาชีพ เป็นเจ้าภาพไปร่วมกันทำ ด้านแรงงาน ให้แรงงานเป็นเจ้าภาพ ด้านสวัสดิการให้ พมจ. เป็นเจ้าภาพ ไปทำในกลุ่มย่อย แล้วเสนอ มาใหม่ เพื่อร่วมกันจัดลำดับ
ตัวชี้วัดผลการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหารด้านสังคม เป้าหมายการพัฒนา : ตัวชี้วัดผลการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดมุกดาหารด้านสังคม ปี พ.ศ. 2553 - 2556 เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์มี 5 เป้า ในปี 2553-2556 มุ่งเน้นให้บรรลุตัวชี้วัด 2 ตัว ค่าเป้าหมาย : Target ตัวชี้วัด : KPIs 2553 2554 2555 2556 2553-2556 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของสถานศึกษา/แหล่ง เรียนรู้ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพ 20 40 60 80 80 ร้อยละที่ลดลงของอัตราการเจ็บป่วย ด้วยโรคที่ป้องกันได้ ( อย่างน้อยปีละ ) 10 10 10 10 10 @ น่าจะเพิ่ม 1. ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน 2. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราความครอบคลุมการได้รับสวัสดิการ ของผู้สูงอายุ /ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราความครอบคลุมของชุมชนเข้มแข็ง
งบประมาณที่เสนอขอ(ล้านบาท) แผนงาน/โครงการ แผนงาน โครงการที่เสนอขอ งบประมาณ ตามพัฒนาพัฒนาด้านสังคมภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาคน สังคมและคุณภาพชีวิต ปี พ.ศ. 2553 - 2556 แผนพัฒนาจังหวัด(ด้านสังคมกำหนดไว้ 8 กลยุทธ์หลัก มีการขอ งบฯปี 2553-2556 ใน 4 แผนงาน งบประมาณที่เสนอขอ(ล้านบาท) แผนงาน/โครงการ 2553 2554 2555 2556 2553-2556 การพัฒนา/ยกระดับคุณภาพการศึกษา/ การเรียนรู้ตลอดชีวิต 7.8 46.14 46.04 46.94 146 2. การพัฒนา/ยกระดับคุณภาพการบริการ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข 75 32.4 14.14 14.14 14.14 3. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต 26.4 45.37 32.34 33.25 137 4. การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานและระบบบริหารจัดการ 13.2 12.19 11.24 11.34 48 407 รวมทุกแผนงาน 79.8 117.84 103.76 105.67
ความเชื่อมโยงของแผนงาน/โครงการกับตัวชี้วัดผลการพัฒนาคน สังคมและคุณภาพชีวิต ปี53-56 แผนงานที่ 1. พัฒนา/ยกระดับคุณภาพการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าประสงค์ 2 ตัวชี้วัด แผนงานที่ 2. พัฒนา/ยกระดับ คุณภาพบริการด้านบริการ ทางการแพทย์/สา’สุข แผนงานที่ 3. การพัฒนาและ ยกระดับคุณภาพชีวิต 2 แผนงานที่ 4. พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานและระบบบริหารจัดการ
ประเด็นข้อหารือ เพื่อสังคมมุกดาหาร 1. สมควรทบทวนแผนฯเพิ่มเติม ? คงเดิมปี 54-56ไว้ก่อน 2. เป้าประสงค์ ปี 2553-2556 ควรเพิ่ม? คงเดิมปี 54 – 56 ไว้ก่อน 3. แผนงาน/โครงการ ควรเพิ่มเติม? คง 4 แผนงานเดิมไว้ก่อนในปี 54-56 4. โครงการรองรับแผนงาน/โครงการ จะดำเนินการอย่างไร? จะจัดลำดับกลยุทธ์ ก่อน?จัดลำดับกลยุทธ์ ปี 54-56 โดยเน้น 2 กลยุทธ์ จะให้มีเจ้าภาพแต่ละแผนยุบรวม/ปรับปรุงแผน/โครงการ? นำแผนงานโครงการมาจัดลำดับอีก? โดยให้ความสำคัญกับ 2 แผนงานแรกที่ส่ง ผลต่อ 2 ตัวชี้วัดหลักเป็นอันดับต้น โดยให้นำโครงการลำดับ 1 – 3 ของแต่ละแผนงาน ที่สนับสนุนการบรรลุ ตัวชี้วัดหลัก ปี 53 – 56 ใน 2 ตัวชี้วัดเป็นสำคัญ) 5. สำหรับโครงการปี 54 เพื่อให้ทันนำเข้า กบจ. จะทำอย่างไร ให้คณะทำงานของเจ้าภาพหลักจัดทำแผนงาน/โครงการเป็นรายแผนงาน และจัดลำดับความสำคัญของโครงการภายใต้แผนงานนั้น ๆ 1- 3 ลำดับ ส่งฝ่ายเลขาฯ ใน 13 พ ย. 52 /ฝ่ายเลขาฯรวบรวม แจ้งคณะทำงานฯทราบ (อาจจะต้องประชุมคณะทำงาน ?)แล้วส่ง สนจ. ภายใน 16 พ ย. 52 เป็น Excel file
ข้อเสนอเพื่อการทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร(ด้านสังคม) จัดทำแผนงาน โครงการ ภายใต้เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดด้านสังคมตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาคน สังคมและคุณภาพชีวิต (น่าจะมีตัวชี้วัดทางสังคมที่ครอบคลุม การศึกษา/สุขภาพ/แรงงาน/สวัสดิการ/วัฒนธรรม/มิติอื่น ๆ) พิจารณาจัดลำดับความสำคัญแผนงาน โครงการ โดย 1. จัดลำดับกลยุทธ์ หรือลำดับความสำคัญของแผนงานก่อน (อันดับ 1-4) 2. จัดลำดับโครงการต่าง ๆ (เจ้าภาพหลักร่วมกันจัดมาตามสภาพปัญหา ความจำเป็นต้องการบนพื้นฐานข้อมูลสภาพปัญหาและโอกาสการพัฒนา) ภายใต้แผนงาน/โครงการ ที่รับผิดชอบ 3. เลือกโครงการ ภายใต้แผนงาน/โครงการ 1-4 แผนงาน ที่อยู่ในลำดับ 1 – 3 ของแต่ละแผนงาน แล้วนำมาจัดลำดับความสำคัญ บรรจุในแผนคำขอ งบฯ ปี 54 ที่เหลือจัดวางใน ปี 55 – 56 ซึ่งมีโอกาสที่สามารถทบทวนได้อีกในคราวต่อไป (อาจตั้งคณะทำงานจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศและข้อเสนอร่างแผนงาน โครงการ พัฒนาจังหวัดมุกดาหาร มาช่วยดำเนินการเตรียมข้อมูลให้คณะทำงานฯเพื่อความครอบคลุม ครบถ้วน สมบูรณ์ ของแผนพัฒนาจังหวัดด้านสังคม ในภายหลังได้
เชิญคณะทำงานพิจารณาให้ความเห็น เพื่อสังคมมุกดาหาร X