การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (Shelving)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Advertisements

NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
JSTOR Archive Collections JSTOR Archive Collections
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
for Beginning & Publishing
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
การเขียนผังงาน.
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
Online Public Access Catalog
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย(ThaiLIS)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเตรียมข้อมูลสำหรับจัดซื้อหนังสือ
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
แผนกบริการสารสนเทศ KM ขึ้นชั้น Cops Jigsaw ครั้งที่ 1/2553.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
OPAC (Online Public Access Catalog)
WEB OPAC.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 03/10/50.
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง (Reference Books)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
Flow Chart INT1103 Computer Programming
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
TU Library Catalog.
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
Domain Name System   (DNS).
วิชาพิเศษลูกเสือสำรอง นายบรรจง เป็ดทอง L.T.
EBook Collection EBSCOhost.
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
Wiley Online Library. Wiley Online Library Wiley Online Library เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ รวบรวมวารสารมากกว่า 800 รายชื่อ ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้าน.
Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
Request copy. วิธีการจองหนังสือ การจองหนังสือผ่านระบบ Library Catalog (HIP) สามารถ จองได้เฉพาะหนังสือที่มี Location เป็นของห้องสมุดที่ผู้ใช้ กำลังใช้หน้าจอการสืบค้นอยู่
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (Shelving) โดย....สดศรี กันทะอินทร์ งานห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์

ทำไมต้องมีการจัดหมวดหมู่หนังสือ? เพื่อให้หนังสือทุกเล่มในห้องสมุดมีสัญลักษณ์และมีตำแหน่งการจัดวางที่แน่นอน เพื่อให้หนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกัน รวมอยู่ในที่เดียวกัน เพื่อให้หนังสือที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกันหรือสัมพันธ์กันอยู่ใกล้กัน เพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบ จัดเก็บหนังสือคืนที่ได้ง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น เพื่อให้ทราบว่าห้องสมุดมีหนังสือในแต่ละสาขาวิชา แต่ละเรื่องมากน้อยเพียงใด

ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มี ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่เลือกใช้มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC-Library of Congresses Classification) 2. ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน (NLM-National Library of Medicine Classification)

PRECLINICAL SCIENCES QH National Histology ( LC. ) QL Zoology ( LC. ) QM Human Anatomy ( LC. ) QP Physiology ( LC. ) QU Biochemistry ( NLM. ) QV Pharmacology ( NLM. ) QW Bacteriology & Immunology ( NLM. ) QX Parasitology ( NLM. ) QY Clinical Pathology ( NLM. ) QZ Pathology ( NLM. )

MEDICINE AND RELATED SUBJECTS W Health Professions WA Public Health WB Practice of Medicine WC Communicable Diseases WD100 Nutrition Disorders WD200 Metabolic Disorders WD300 Immunologic and Collagen Diseases. Hypersentivity WD400 Animal Poisons WD500 Plant Poisons WD600 Disorders and Injuries of Environmental Origin

WD700 Aviation and space Medicine WD800 Naval Medicine WE Musculskeletal System WF Respiratory System WG Cardiovascular System WH Hemic and Lymphatic Systems WI Gastrointestinal System WJ Urologenital System WK Endocrine System WL Nervous System WM Psychiatry WN Radiology

WO Surgery WP Gynecology WQ Obstetrics WR Dermatology WS Pediatrics WT Geriatrics, Chronic Diseases WU Dentistry, Oral Surgery WV Otorhinolaryngology WW Opthamology WX Hospital WY Nursing WZ History of Medicine

เลขเรียกหนังสือ (Call Number) QM23 เลขหมู่หนังสือ S245 เลขผู้แต่ง 2002 ปีพิมพ์ v.1 เล่มที่

การเรียงหนังสือบนชั้น เรียงหนังสือจากซ้ายไปขวา จากชั้นบนลงชั้นล่าง จัดเรียงหนังสือบนชั้น แยกตามหมวดหมู่ เช่น Q – QZ, W - WZ

3. หนังสือที่มีหมวดหมู่เดียวกันให้เรียงเลขน้อย ไปหามาก เช่น 3. หนังสือที่มีหมวดหมู่เดียวกันให้เรียงเลขน้อย ไปหามาก เช่น QM 4 QM 23 QM 45 QM 100

4. หนังสือที่มี หมวดหมู่เหมือนกัน เรียงลำดับตาม อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ถ้าอักษรผู้แต่งเหมือนกันให้ เรียงตามเลขประจำตัวผู้แต่งจากเลขน้อยไปหาเลขมาก ถ้าเลขผู้แต่งซ้ำกันให้ เรียงลำดับตามอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง เช่น

QM 23 S665a QM 23 S665t

5. หนังสือที่มีหมวดหมู่เดียวกัน ผู้แต่งเดียวกันและชื่อเรื่องเดียวกันให้เรียงตามปีพิมพ์ใหม่ก่อนปีพิมพ์เก่า QM 23 S665a 2002 QM 23 S665a 1999

6. หนังสือที่มีหลายเล่มจบ จัดเรียงลำดับตามเล่ม 6. หนังสือที่มีหลายเล่มจบ จัดเรียงลำดับตามเล่ม QM23 S665a 2002 V.1 QM 23 S665a 2002 V.2

7. หนังสือที่มีหลายเล่มจบ และมีหลายปีพิมพ์ ให้เรียงลำดับตามเล่ม และปีพิมพ์ใหม่มาก่อน QM 23 S665a 2002 V.1 QM 23 S665a 1999 V.1 QM 23 S665a 2002 V.2 QM 23 S665a 1999 V.2

8. หนังสือที่มีหลายเล่มให้เรียงลำดับตามเล่ม QM 23 S665a 2002 C.1 QM 23 S665a 2002 C.2

หนังสือที่มีหมวดหมู่เป็นจุดทศนิยมตัวเลข หลังจุดทศนิยมให้เรียงตามลำดับตัวเลขไม่เรียงตามค่า QM4.20 S665a 2002 QM4.6 S665a 2002

10. หนังสือสำรอง (RESERVE BOOKS) หนังสือภาษาไทยและภาษาอังกฤษจะเรียงไว้ด้วยกัน โดยแต่ละหมวดหมู่จะเรียงหนังสือภาษาอังกฤษมาก่อนหนังสือภาษาไทย เช่น QM4 S245a 1999 QM 4 ก245ก 2542 QM 23 S245a 2002 QM 23 ผ245ค 2545 18

THE END