การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กลุ่มที่ 1.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นโยบายด้านบริหาร.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
ITกับโครงการ Food safety
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
“”หมู่บ้านเพชรพิจิตร พิชิตงาน อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน
กิจกรรมอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
นางสาวจันทวรรณ อินทรไชยา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
รายงานความก้าวหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการการบริหารจัดการโปรแกรมป้องกันไวรัส Kaspersky ผ่านระบบ FTP
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
เสนอ อภิปรายการศึกษาดูงาน กศน. จังหวัดมุกดาหาร. แนวคิดในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ มีการบริงานชัดเจน - การกระจายอำนาจปกครองลงไปสู่ระดับตำบล - มีการจัดสรรงบประมาณ.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต นางจิรภา เชื้อดวงผุย หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน To much very information Very graphic Good job, Pages are good Balance a time one or two things Some articulation between theory and practices public management, maybe the Thai case is key word high light of. - Balance of slide

วัตถุประสงค์ เพื่อให้หมู่บ้านได้ใช้สารสนเทศในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและบริหารจัดการชุมชน

การคัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ ปี พ.ศ.2558 อำเภอ คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายอำเภอละ 1 หมู่บ้าน ส่งรายชื่อให้จังหวัด ภายใน 28 ต.ค.2557 คัดเลือกหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบระดับจังหวัด 1 หมู่บ้าน ดำเนินโครงการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ใน ช่วงเดือน มีนาคม 2558 จังหวัด การคัดเลือก หมู่บ้าน ภาค ประกวดคัดเลือกระดับภาค 1 หมู่บ้าน ดำเนินการในไตรมาส 4

คุณสมบัติของหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเป้าหมาย มีบุคลากรที่มีทักษะและสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ผู้นำและคนในหมู่บ้านมีความสนใจใฝ่รู้ และให้ความสำคัญกับ ICT หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบฯ มีการประสานงาน/บูรณาการงาน งบประมาณร่วมกันกับส่วนราชการ อบต. เทศบาล ฯลฯ ในด้านการพัฒนาหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง เป็นหมู่บ้านที่เคยจัดทำ VDR มาแล้ว ไม่เป็นหมู่บ้านต้นแบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด และอำเภอ ที่ได้ดำเนินการแล้ว ในปีพ.ศ. 2555-2557

แนวทางการดำเนินการหมู่บ้านต้นแบบ การจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต  จังหวัด/อำเภอ แต่งตั้งคณะทำงานทีมบูรณาการครอบคลุมทุกภาคส่วน ประกอบด้วย จังหวัด อำเภอ  อำเภอ คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายระดับอำเภอ ๆ ละ 1 หมู่บ้าน ประชาคมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ICT/แนวทางการดำเนินการฯ แก่หมู่บ้านต้นแบบฯเป้าหมาย สนับสนุน การดำเนินการหมู่บ้านเป้าหมายตามกระบวนการทำงาน 5 กระบวนการ เพื่อนำไปสู่การประสานภาคีการพัฒนาในการแก้ไขปัญหาตามแผนการพัฒนาหมู่บ้าน  อำเภอถอดบทเรียน การจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของหมู่บ้านต้นแบบระดับอำเภอ  จังหวัดคัดเลือก 1 หมู่บ้าน ดำเนินการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด และส่งเข้ารับการคัดเลือกระดับภาค

กระบวนการขับเคลื่อน 1.) สร้างความเข้าใจร่วมกัน 2.) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 3.) กำหนดความต้องการร่วมกัน 4.) ร่วมกันจัดทำสารสนเทศ 5.) เผยแพร่และบำรุงรักษา

ประเด็นทางเลือกด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต (1) สารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอาชีพ (2) สารสนเทศเพื่อการจัดการทุนของชุมชน (3) สารสนเทศเพื่อจัดการความเสี่ยงของชุมชน (ภูมิคุ้มกัน) (4) สารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาความยากจน (5) สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน

การจัดทำสารสนเทศเพื่อการพัฒนาหมู่บ้าน/ตำบล (VDR/TDR)

การดำเนินงานเทคโนโลยีและสารสนเทศดีเด่น การใช้อินเตอร์เน็ตช่วงถ่ายทอด Conference การติดตั้งและใช้งานโปรแกรมป้องกันไวรัส การตั้งชื่อ Computername และ Workgroup การใช้งาน e-mail กรม ระบบเครือข่าย การใช้ OA การใช้ e-Submission ระบบเทคโนโลยี IT ดีเด่น 4 ด้าน ระบบสารสนเทศชุมชน การบันทึกข้อมูลศูนย์ข้อมูลกลางถูกต้อง ครบถ้วน มีการให้บริการและเผยแพร่บนเว็บไซต์ ข้อมูลพื้นฐาน/จปฐ. - ผู้จัดเก็บ/ผู้บันทึกดีเด่น อปท.ดีเด่น -การจัดเก็บ

กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สพจ.ขอนแก่น Thank You ! กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สพจ.ขอนแก่น http://khonkaen.cdd.go.th cddkhonkaen@cdd.go.th khonkaencdd@hotmail.com