ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

Innovative Solution Integration Co, Ltd
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและรายงานผลการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการเกษตร ๒๕๕๔ ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การวางแผนและติดตามผลการ ปฎิบัติราชการอย่างมี มิติ เป้าประสงค์ มิติ คือ 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านประสิทธิภาพของการ ปฎิบัติราชการ 2. ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบเบิกจ่าย การ LOCK รายการตั้งเบิกกรณีที่มีค่าปรับ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ และเตรียมการอบรมการใช้งาน
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ2552
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
ปัญหาการรายงานใน ระบบบริหารจัดการ งบประมาณ กรมควบคุมโรค ปี 2550 เอกสารประกอบการประชุม การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และการใช้จ่ายงบประมาณปี 2550 กรมควบคุมโรค.
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
เมนูพิมพ์แบบรายงาน ผู้ใช้งานระบบ สามารถเลือกพิมพ์แบบรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ได้ โดยการส่งออกรายงานจะเป็นในรูปของ Excel File.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ ของกลุ่มภารกิจ (DSCCW) ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ กรม คร. (SM) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงาน ระดับบุคคล PMS ISMART

เมนูรายงานตัวชี้วัด ผู้ใช้งาน 1. ผู้ดูแลแผนและหรือผู้กำกับตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน : สร้างและรายงานตัวชี้วัดหน่วยงาน 2. ผู้กำกับตัวชี้วัดระดับกรม : download ข้อมูล/รายงาน สรุปและวิเคราะห์ในภาพรวมกรมฯ โดยไม่สามารถแก้ไขข้อมูลของหน่วยงานได้

บทบาทผู้กำกับตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ประจำปี 2554 1. ประสาน/จัดทำคำอธิบายตัวชี้วัด เป้าหมายและหลักเกณฑ์การวัดให้สอดคล้อง กับ Template กรมฯ 2. รวบรวมโครงการที่สนับสนุนให้ดำเนินงานตามตัวชี้วัดบรรลุเป้าหมาย 3. สื่อสารถ่ายทอดเป้าหมายตัวชี้วัด โครงการให้ผู้รับผิดชอบนำไปปฏิบัติ 4. จัดทำแผน ติดตาม กำกับ ให้เป็นไปตามแผนงาน 5. ติดตาม รวบรวม ประเมินรายงานความก้าวหน้าของโครงการ (จากระบบ Estimate/รายงานอื่น ๆ ) และจัดทำภาพรวมตามแบบรายงาน SAR หลังสิ้นไตร มาสในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ - ผลการดำเนินงานเทียบกับเกณฑ์ / เป้าหมาย - มาตรการที่ดำเนินการ - ปัจจัยสนับสนุนการดำเนินการ - ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขโดยเฉพาะกรณีที่ผลงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย (กรณีผลการดำเนินงานต่ำกว่าหรือมากกว่าแผน 10% ต้องมีคำชี้แจง) - รวบรวมหลักฐานอ้างอิง - บันทึกรายงานในระบบ Estimates

เอกสารและไฟล์ข้อมูลที่ต้องใช้ในการจัดทำรายงานในเมนูรายงานตัวชี้วัด 1. รายชื่อและรหัสตัวชี้วัดของกรมควบคุมโรค 2. รหัสหน่วยงาน ซึ่งเป็นตัวเลขที่ใช้ในระบบ Estimates เช่น กองแผนงาน รหัส 04 (ดูในภาคผนวก) 3. รายชื่อและรหัสตัวชี้วัดของหน่วยงาน ทั้งที่เป็นคำรับรอง การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และไม่ใช่คำรับรองฯ - ตัวชี้วัดที่ได้รับการถ่ายทอดจากกรมฯ ให้ใช้รหัสเดียวกัน กับกรมฯ 4. คำอธิบายตัวชี้วัด : เพื่อให้ทราบขั้นตอนการดำเนินงาน/ สูตรการคำนวณ/น้ำหนักคะแนน 5. ข้อมูลเพื่อเตรียมรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพหรือขั้นตอน พร้อมไฟล์เอกสาร สำหรับแนบประกอบ

คำรับรอง การปฏิบัติราชการ คำรับรอง การปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ (บางส่วน) คำรับรองกรมฯ ตามกลุ่มภารกิจ / SDA ตัวชี้วัดภารกิจหลักของหน่วยงาน ตัวชี้วัด ที่ไม่ใช่คำรับรอง ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ (บางส่วนที่เหลือ) ตัวชี้วัดบางตัวที่ต้องรายงานเพื่อสนับสนุนข้อมูลให้กับสำนักส่วนกลาง ตัวชี้วัดอื่น ๆ ของหน่วยงาน

องค์ประกอบ ของเมนูรายงานตัวชี้วัด 1. การสร้างตัวชี้วัด 2. ฟอร์มบันทึกรายงาน : แบบฟอร์มสำหรับรายงาน SAR * บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการดำเนินงาน * บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ 3. รายการแสดงตัวชี้วัดที่รายงานแล้ว * รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการ ดำเนินงาน * รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ 4. รายงานสรุปผล SAR Card 5. บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง 6. รายการสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง

4.รายงานสรุปผล SAR Card 5.บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง 1.การสร้างชื่อตัวชี้วัด 2.การรายงานผลการดำเนินงาน (บันทึกในรายงาน SAR ) 3.การแสดงชื่อตัวชี้วัดที่มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานแล้ว 4.รายงานสรุปผล SAR Card 5.บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง

ขั้นตอนการสร้างชื่อตัวชี้วัด 1.ระบุ/กำหนดรหัสตัวชี้วัดทุกตัวของหน่วยงาน ทั้งที่เป็นคำรับรอง และไม่ใช่คำรับรอง โดยระบุรหัส 2 ตัวแรกเป็นรหัสของหน่วยงาน 1.1ตัวชี้วัดที่ได้รับการถ่ายทอดจากกรมฯ ให้ใช้รหัสเดียวกันกับกรม เช่น คำรับรองกรมฯ / ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ เช่น22DSCCW113 , 04SM512_D , 19SM512_B , 06SM512_I , 11SM512_R 1.2ตัวชี้วัดอื่นของหน่วยงาน ให้กำหนดรหัสเป็น BuSC แล้วตามด้วยลำดับที่ของตัวชี้วัดหน่วยงาน เช่น 04BuSC12

การสร้างชื่อตัวชี้วัด (ต่อ) 2.สร้างรายการตัวชี้วัดของหน่วยงานในระบบฯ 2.1 คลิกเลือกหัวข้อสร้างตัวชี้วัด กรอกข้อมูลรหัสตัวชี้วัด และชื่อตัวชี้วัด (นำเครื่องหมายที่มีอยู่ในชื่อตัวชี้วัดออก หากชื่อยาวเกินไปปรับให้สั้นได้ใจความ) 2.2 คลิกเลือกปีงบประมาณ และมิติตัวชี้วัด (ประสิทธิผล / คุณภาพ / ประสิทธิภาพ / พัฒนาองค์กร) 2.3 คลิกเลือกประเภทตัวชี้วัด เป็น BuSC แล้วกดบันทึก ระบบจะแสดงรายการตัวชี้วัดของหน่วยงานที่สร้างในระบบ 2.4 สามารถตรวจสอบรายการตัวชี้วัด โดยกรอกข้อมูลที่ต้องการให้ระบบแสดง แล้วคลิกค้นหา

1. กรอกข้อมูลรหัสและชื่อตัวชี้วัดตามที่กำหนดไว้ 2. เลือกปีงบประมาณ มิติตัวชี้วัด (ประสิทธิผล/คุณภาพ/ประสิทธิภาพ/พัฒนาองค์กร) 3. เลือกประเภทตัวชี้วัด เป็น BuSC แล้วกดบันทึก

3. ระบบแสดงรายการตัวชี้วัดของหน่วยงานที่บันทึกในระบบ

ขั้นตอนการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (การรายงานในแบบฟอร์ม SAR) 1. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ เลือกหัวข้อ “บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการดำเนินงาน” และกรอกข้อมูลในหัวข้อต่าง ๆ โดยอิงกับข้อมูลตาม Template และมีจุดที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ ดังนี้ - การเลือกเดือนที่จะทำรายงานในระบบ ให้เลือกเดือนสุดท้ายของแต่ละไตรมาส คือ เดือนธันวาคม มีนาคม มิถุนายน และกันยายน - หัวข้อ “ระดับตัวชี้วัด” ให้เลือกที่ “หน่วยงาน (คำรับรอง)” หรือ “หน่วยงาน (ไม่ใช่คำรับรอง)” - กรอกข้อมูลผลการดำเนินงานของหน่วยงานและค่าคะแนนที่ได้ เพื่อให้ระบบคำนวณคะแนนอัตโนมัติ และควรแนบไฟล์เอกสารประกอบผลการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน พร้อมทั้งตั้งชื่อไฟล์ให้ชัดเจน

กรอกข้อมูลผลดำเนินงาน เลือก ข้อมูลจากระบบ “ระดับตัวชี้วัด” O กรมควบคุมโรค (คำรับรอง) O กรมควบคุมโรค (ไม่ใช่คำรับรอง) O หน่วยงาน (คำรับรอง) O หน่วยงาน (ไม่ใช่คำรับรอง) กรอกข้อมูลโดยอิงกับ Template กรอกข้อมูลผลดำเนินงาน

คำนวณคะแนนอัตโนมัติ

เลือกประเภท แล้วกด “ค้นหา” กดแว่นขยาย เพื่อระบุชื่อ นามสกุล แล้วกด “ค้นหา”

การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (เชิงปริมาณ) 2. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เลือกหัวข้อ “บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ” และกรอกข้อมูลในหัวข้อต่าง ๆ โดยอิงกับข้อมูลตาม Template และมีจุดที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ คือ มีการกำหนดรายละเอียดตัวแปรและค่าของตัวแปร รวมทั้งสูตรการคำนวณให้ถูกต้องและชัดเจน เพื่อที่ระบบจะได้คำนวณค่าคะแนนอัตโนมัติ

ระบุสูตรคำนวณ คำนวณค่าอัตโนมัติ กำหนดรายละเอียดตัวแปรและค่า ระบุสูตรคำนวณ คำนวณค่าอัตโนมัติ ส่งออกเป็นรายงาน SAR

ตัวเลขต้องไม่มีจุดทศนิยม หรือเครื่องหมายอื่นๆ ผลเกิดจาก การคำนวณ

การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (ต่อ) บันทึกตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ (ต่อ) ตัวแปร : ข้อมูลที่เกี่ยวข้องใช้ในการคำนวณค่าคะแนนเพื่อวัดผลงาน กำหนดชื่อตัวแปรเป็นตัวอักษร A, B, C, D, E ให้หน่วยงานระบุข้อมูลให้ครบถ้วน ตัวอย่าง : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม = งบประมาณที่เบิกจ่ายสะสม x 100 งบประมาณที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด ตัวแปรตัวที่ 1 (A) คำอธิบาย คือ งบประมาณที่เบิกจ่ายจริงสะสม ค่าตัวแปร คือ 5,000,000 หน่วยนับ คือ บาท ตัวแปรตัวที่ 2 (B) คำอธิบาย คือ ตัวคูณคืน 100 ค่าตัวแปร คือ 100 หน่วยนับ คือ ไม่มี (ถ้าไม่มีให้เว้นว่างไว้ไม่ต้องระบุข้อความใด ๆ) ตัวแปรตัวที่ 3 (C) คำอธิบาย คือ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด ค่าตัวแปร คือ 15,000,000 หน่วยนับ คือ บาท สูตรที่ระบุในระบบ = A x B /C

แสดงชื่อตัวชี้วัดที่มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานแล้ว รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ / ขั้นตอนการดำเนินงาน คลิกเลือกรายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ คลิกเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ระบบแสดง คลิกตกลง

แสดงชื่อตัวชี้วัดที่มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานแล้ว รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ คลิกเลือกรายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงปริมาณ คลิกเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ระบบแสดง คลิกตกลง

รายงานสรุปผล SAR Card 1. คลิกเลือกเมนูรายงานตัวชี้วัด แล้วเลือกรายการสรุปผล SAR Card 2. คลิกเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ระบบแสดง คลิกตกลง ตัวชี้วัดคำรับรองต้องเท่ากับ 100

บันทึกสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเอง สำหรับจัดทำสรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการตนเองของหน่วยงาน ในภาพรวม และสามารถพิมพ์รายงานได้ โดยกดปุ่ม Export รายงาน ส่งออกรายงาน

การแก้ไข และการลบข้อมูลที่ทำการบันทึก ผู้ใช้งานสามารถดู และแก้ไขข้อมูลของหน่วยงานตนเองได้ โดยเลือก หัวข้อที่ต้องการ  เลือกเงื่อนไขหากต้องการแก้ไข / หรือลบ ให้กดปุ่ม ”แก้ไข” หรือ ”ลบ” ปุ่มสำหรับแก้ไข ปุ่มสำหรับลบข้อมูล

เทคนิคเพิ่มเติมสำหรับการรายงานตัวชี้วัด 1. หน่วยงานทำความตกลงกันภายในว่าตัวชี้วัดแต่ละตัวมีผู้ใดเป็นผู้รับผิดชอบ ใครเป็นผู้สร้างตัวชี้วัดในระบบ และใครเป็นผู้รายงาน 2. ก่อนการดำเนินการใด ๆ ควรเตรียมไฟล์เอกสารประกอบการรายงานให้พร้อม เพื่อความสะดวก 3. การสร้างชื่อตัวชี้วัดของหน่วยงาน ควรสร้างเพียงครั้งเดียวให้ครบถ้วนตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ แล้วทำการรายงานผลการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนดในแต่ละไตรมาส (ไม่ควรมีการสร้างตัวชี้วัดเพิ่มเติมอีกในภายหลัง)

4. กรณีที่มีการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในไตรมาสที่ 1 ไปแล้วนั้น ขั้นตอนวิธีการที่จะรายงานผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 2 – 4 ให้หน่วยงานดำเนินการ ดังนี้ 4.1 เลือกหัวข้อ รายการตัวชี้วัดที่วัดผลเชิงคุณภาพ หรือ เชิงปริมาณ ที่หน่วยงานต้องการ 4.2 เลือกประเภทตัวชี้วัด เป็น BuSC / เลือกเดือน ที่เก็บผลงาน / เลือกระดับตัวชี้วัด เป็น หน่วยงาน (คำรับรอง) หรือ หน่วยงาน (ไม่ใช่คำรับรอง) แล้วคลิกตกลง 4.3 เมื่อระบบแสดงรายการตัวชี้วัดแล้ว ให้กดปุ่ม ”แก้ไข” โดยคลิกเลือกให้ตรงกับชื่อตัวชี้วัดที่ต้องการ ระบบจะแสดงหน้าจอของบันทึกรายงานผลการดำเนินงาน ให้ดำเนินการแก้ไขโดยเลือกเดือนที่ต้องการรายงานใหม่ และตรวจสอบรายละเอียดของหัวข้อต่าง ๆ พร้อมทั้งแก้ไขให้ถูกต้อง วิธีการที่จะบันทึก ให้ใส่เครื่องหมาย  ที่หัวข้อ “บันทึกเป็นรายการใหม่” แล้วจึงกดบันทึก ระบบจะบันทึกเป็นรายการใหม่ให้ หากต้องการแก้ไขเพิ่มเติมก็ให้ใช้วิธีการเดียวกัน * ข้อควรจำ : ก่อนทำการบันทึกขอให้ตรวจสอบให้ดีว่าเป็นรายการตัวชี้วัดที่ตนเองต้องรายงานถูกต้องหรือไม่ เช่น เป็นคำรับรอง หรือไม่ใช่คำรับรอง เนื่องจากที่ผ่านมา มีปัญหาการบันทึกทับซ้ำรายการเดิม ทำให้ข้อมูลที่รายงานไว้เดิมสูญหาย *

ขอบคุณกรั๊บ