กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร
1. กำหนดระเบียบคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับ คุณสมบัติผู้ตรวจสอบกิจการ - ต้องขึ้นทะเบียนกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ / มือ อาชีพ - กำหนดคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบกิจการให้ เหมาะสมกับฐานะของสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร - ต้องผ่านการอบรมหรือทดสอบองค์ความรู้จากกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์ 2. ให้มีการกำหนดหลักสูตรพัฒนาผู้ตรวจสอบฯร่วมกัน ระหว่าง กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1. ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์
3. ให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ติดตามการ ปฏิบัติงานของ ผู้ตรวจสอบกิจการ 4. ศึกษาแนวทางการสร้างผู้ตรวจสอบ ภายในของสหกรณ์ขนาดใหญ่ 5. กำหนดวาระผู้ตรวจสอบกิจการไว้ใน ระเบียบตามข้อที่ 1 6. ให้บูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่าง ผู้ตรวจการสหกรณ์ กับผู้ตรวจสอบกิจการ 7. จัดเวทีระดับภาค ในเรื่องผู้ตรวจสอบ กิจการ
1. ให้แยกคุณสมบัติของกรรมการนอกภาคการเกษตร / ใน ภาคการเกษตร ออกจากกัน ( ผู้ที่จะเป็น คณะกรรมการ พิจารณาจาก ) - อายุการเป็นสมาชิก - อายุการเป็นประธานกลุ่ม / เลขากลุ่ม โดยต้องผ่าน การอบรม 2. ต้องเว้นจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ให้ความรู้เรื่องบทบาท อำนาจหน้าที่ของกรรมการและ การบริหารจัดการองค์กร 4. ร่วมกันสร้างจิตสำนึก จรรยาบรรณคณะกรรมการ เช่น การประกาศเกียรติคุณ, เผยแพร่ผลงานดีเด่นสร้าง แรงจูงใจ การให้รางวัล ( กำหนดเกณฑ์ร่วมกัน ) 2. คณะกรรมการดำเนินการ สหกรณ์
5. ปรับเปลี่ยนการให้ความรู้ จากการอบรม เป็นการเข้าไปให้คำแนะนำโดยตรงหรือการ เผยแพร่ ความรู้ทางวิชาการผ่าน สื่อ ต่างๆ 6. สร้างคนรุ่นใหม่
1. จะร่วมกันพัฒนา โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายที่ สหกรณ์ตั้งใหม่ หรือ สหกรณ์ที่ต้อง ฟื้นฟู 2. กรมส่งเสริมสหกรณ์และ กรมตรวจบัญชี สหกรณ์ ต้องเข้าไปมีส่วนในกระบวนการสรร หาเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ เพื่อลดระบบ อุปถัมภ์ 3. เจ้าหน้าที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์และกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์ เข้าไปให้ความรู้ ( สอน งาน ) แก่เจ้าหน้าที่ 3. เจ้าหน้าที่สหกรณ์
4. ผู้จัดการควรจะมีความรู้ด้านการบริหาร องค์กร / ธรรมาภิบาลที่ดี 5. ให้จัดทำโครงการเสริมสร้างสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กให้มีความเข้มแข็ง ถือเป็นนโยบายที่รัฐบาลต้องให้การสนับสนุน 6. มีการทดสอบสมรรถนะเจ้าหน้าที่สหกรณ์ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยกรมส่งเสริม สหกรณ์