2 รายงานการศึกษาภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมยาง และผลิตภัณฑ์ ( กระทรวงอุตสาหกรรม ) กระทรวงอุตสาหกรรม ให้สำงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำ รายงานฯ เมื่อเดือน ธันวาคม 2535 วัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ใน ระยะยาว โดยเฉพาะในช่วง แผนฯ 7 เพื่อกระจายการจัดตั้งโรงงานออกไปยังแหล่งวัตถุดิบให้กว้างขวาง มากขึ้น เพื่อเพิ่มสัดส่วนปริมาณการใช้ยางธรรมชาติเพื่อทดแทนการส่งออก วัตถุดิบยางธรรมชาติ เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคายาง / สนับสนุนให้เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้น โดยเสนอแนะหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ดังนี้ - - สมอ. จัดอบรม / สัมมนาเผยแพร่ความรู้ด้านการควบคุมโรงงาน ตามแนว ISO สมอ. จัดทำแผนงานเพื่อกำหนดคุณภาพ ม. ยางดิบและ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้เป็นที่น่าเชื่อถือและเพิ่มมูลค่า - - กสอ. จัดทำการศึกษาวิจัยลู่ทางการลงทุน เพื่อเพิ่มปริมาณการ ใช้ยาง - - สศอ. ประสานความร่วมมือหน่วยงานต่างๆ เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน
3
4 รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของ ยางพาราและเห็นความจำเป็นในการที่จะต้อง กำหนดเป้าหมายการพัฒนายางพารา จึงได้มี การจัดตั้ง “ คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ ( กนย.)” ครั้งแรก นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยางใน ประเทศ มติครม. เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2536 ประธาน คือ รองนายกรมต. รองประธาน รมช. กษ และหน่วยงานภาครัฐ / เอกชนที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวกับยางธรรมชาติ ต่อครม. พิจารณาแก้ปัญหาราคายาง ส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติในประเทศ แนวทางการเจรจาเรื่องยางระหว่างประเทศ
รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของยางพาราและเห็นความ จำเป็นในการที่จะต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนายางพารา จึงได้มีการจัดตั้ง “ คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ ( กนย.)” ครั้งแรก มติครม. เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2536 ประธาน คือ รองนายกรมต. รองประธาน รมช. กษ และ หน่วยงานภาครัฐ / เอกชนที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวกับยางธรรมชาติ ต่อครม. พิจารณาแก้ปัญหาราคายาง ส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติในประเทศ แนวทางการเจรจา เรื่องยางระหว่างประเทศ นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม ยางในประเทศ