การวิจัย เป็น กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ การวิจัย เป็น กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
10. กรอบแนวคิด การวิจัย (conceptual framework)
กรอบแนวคิดการวิจัย (conceptual framework) เป็นการแสดง เนื้อหาสาระ ประกอบด้วยตัวแปร และ การ ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรต่างๆ ที่ต้องการศึกษา เพื่อหาคำตอบในการวิจัยโดยมีพื้นฐาน เชิงทฤษฎีรองรับ มิใช่กำหนดขึ้น โดยปราศจากหลักเกณฑ์
ประโยชน์ของกรอบ แนวคิด การออกแบบวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปรผล
ที่มา ของเนื้อหาสาระ / ตัวแปรที่ ปรากฏในกรอบแนวคิด การทบทวนวรรณกรรม ( ทฤษฎีต่างๆ และ ผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง ) แนวความคิดของผู้วิจัย เอง
วิธีการนำเสนอ แบบพรรณนาความ แบบจำลอง 2 แบบจำลอง 2 ประเภท ได้แก่ แบบจำลองเชิง คุณภาพ 1. แบบจำลองเชิง คุณภาพ 2. แบบจำลองเชิงปริมาณ
แบบพรรณนาความ อธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปร อิสระกับ ตัว แปรตามเหตุผลและ ทฤษฎีที่รองรับ
ตัวอย่าง โครงการศึกษาบทบาทของ เกษตรหมู่บ้านอาสาสมัครในการ เพิ่มศักยภาพชุมชนด้าน การเกษตร จากการตรวจเอกสารและผลงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้สรุปว่าการศึกษา บทบาทในการเพิ่ม ศักยภาพชุมชนด้านการเกษตร ครั้งนี้ ควร ประกอบด้วย การศึกษาสถานภาพทางสังคม ของเกษตรหมู่บ้านอาสาสมัคร และ การ ปฏิบัติภารกิจในฐานะแกนนำเกษตรกร รวม ๔ บทบาท ได้แก่ การสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกับผู้เกี่ยวข้อง การเป็นผู้บริหารงาน การ เป็นผู้ประสานงานและ การเป็นผู้ติดตามและ ประเมินผลงาน
แบบจำลอง
(๑) รายได้ (๒) การศึกษา (๓) ขนาดฟาร์ม ตัวอย่างที่ 1 โครงการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ การใช้เกษตรดีที่เหมาะสมของ เกษตรกรในการผลิตมะม่วง น้ำดอกไม้ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม การใช้เกษตรดี ที่เหมาะสมของ เกษตรกร ในการผลิต มะม่วง น้ำดอกไม้ แสดงรูปแบบและทิศทางของความสัมพันธ์ ระหว่าง ตัวแปร เช่น สมการ แผนภาพ
แสดงกระบวนการ / ขั้นตอนโครงการวิจัยจาก จุดเริ่มต้น - สิ้นสุด 1. พัฒนางานส่งเสริมการเกษตรตามยุทธศาสตร์ โดยใช้ ความรู้เป็นฐานการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ - ศึกษาสถานการณ์ ระดับจังหวัด โคราช / บุรีรัมย์ / สระแก้ว / กำแพงเพชร - พัฒนาบุคลากรในพื้นที่เป้าหมาย ระดมสมอง ศึกษาปัญหา - พัฒนาชุดโครงการวิจัยรายจังหวัด 2. จัดการองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานตามพันธกิจกรมฯ - แผนปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย - กำหนดโจทย์ / ประเด็นปัญหาของเกษตรกร - ดำเนินการตามแผนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย 3. นวัตกรรมการจัดการความรู้ขององค์กรที่สมบูรณ์ ได้แก่ - มิติพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติ : ประสิทธิผลตามพันธกิจ - มิติการจัดการองค์ความรู้ : ประสิทธิภาพการเพิ่มมูลค่างานด้วย การวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม / บทบาทการจัดการความรู้การเกษตรของ นักวิชาการฯ / พัฒนาการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชน / เครือข่าย - มิติสภาพแวดล้อมขององค์กรสนับสนุนการปฏิบัติงานประจำ : กระบวนการขับเคลื่อนองค์กรเรียนรู้ด้วยการนำวิธีการวิจัยมาใช้ แก้ปัญหาเพื่อพัฒนางาน ก่อนการวิจัยระหว่างการวิจัยหลังการวิจัย ตัวอย่าง 2 โครงการวิจัยการเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร : กรณีศึกษา โครงการจัดระบบพิเศษเฉพาะพื้นที่ปลูกมัน สำปะหลัง ปี 2551/ 2552
ตัวอย่าง 3 โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและ การเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร : กรณีศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร แสดงกระบวนการ / ขั้นตอนโครงการวิจัยที่เชื่อมโยง ภารกิจของหน่วยงานเชิงบูรณาการ
ใช้สัญลักษณ์ที่สามารถคำนวณค่า ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การเกษตรในการประชาสัมพันธ์ (E) เนื้อหา ( C ) และรูปลักษณ์ของวารสาร (F) มี รูปแบบของฟังชั่น คำนวณด้วยสมการ E = a + ь 1 C + ь 2 F ตัวอย่างที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่าง ประสิทธิภาพของวารสาร a แทนค่าคงที่ b 1 และ b 2 แทนสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปร C และ F ที่มีต่อ E E = ƒ(C, F)
ตัวอย่างที่ 2 การจำลองระบบหรือ simulation เพื่อ ทำนายการเปลี่ยนแปลงระบบ เมื่อได้รับผลกระทบจาก ตัวแปรภายในหรือภายนอกระบบ เช่น ยอดขายสินค้า( Y ) จะได้รับผลกระทบจากปัจจัยต่อไปนี้ จำนวนเซลแมน (x 1 ) การโฆษณา (x 2 ) และประสบการณ์ของผู้จัดการ (x 3 ) โดยสามารถวิเคราะห์ได้จากสมการถดถอยพหูสูตร Y = a + b 1 x 1 + b 2 x 2 + b 3 x 3 a แทนค่าคงที่ b 1, b 2 และ b 3 แทนสัมประสิทธิ์ของการถดถอย พหูสูตรส่วนย่อย สัญลักษณ์คำนวณค่า ความสัมพันธ์ของตัวแปร ใช้ สัญลักษณ์คำนวณค่า ความสัมพันธ์ของตัวแปร
ใบงานที่ ๘ วิเคราะห์หาตัวแปรและแสดง ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ สำคัญและความสอดคล้อง กับโจทย์