SOFTWARE
ซอฟต์แวร์ ชุดของคำสั่ง ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลตามลำดับขั้นตอนที่กำหนด จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์แบ่ง เป็น 3 ชนิด คือ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์แปลภาษา ซอฟต์แวร์ ประยุกต์
หน้าที่ของ ซอฟต์แวร์ระบบ ควบคุมการรับ การแสดงผลข้อมูล บริหารหน่วยความจำ จัดการเกี่ยวกับแฟ้มต่างๆ ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ
ตัวอย่างของซอฟแวร์ระบบ MS-DOS Windows 3.11 Windows 95 Windows 98 Windows NT NetWare OS/2 Linux
หน้าที่ของ ซอฟต์แวร์แปลภาษา ทำหน้าที่แปลภาษาระดับสูงที่มนุษย์เข้าใจเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ เข้าใจ เรียกว่าภาษาระดับต่ำ ซึ่งมีลักษณะ เป็นภาษาเลขฐานสอง
ตัวอย่างของซอฟแวร์แปลภาษา BASIC LOGO PASCAL C COBOL FORTRAN Visual BASIC Delphi
ประเภทของ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่ง เป็น 2 ประเภท ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน
ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปออกแบบขึ้นมากว้างๆ ให้ผู้ใช้สามารถนำไปประยุกต์ ใช้กับงานส่วนตัวของแต่ละคนได้ แต่กับงานที่มีลักษณะเฉพาะตัว ซอฟต์แวร์เหล่านี้อาจไม่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ 100 เปอร์เซนต์
การแบ่งประเภทของ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมฐานข้อมูล โปรแกรมนำเสนอผลงาน โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมสร้างบทเรียนโปรแกรม โปรแกรมช่วยสอน โปรแกรมเบราเซอร์สำหรับค้นหาข้อมูล
ตัวอย่าง โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมราชวิถี โปรแกรม CU Writer โปรแกรม MS-Word 6.0 / 95 /97 โปรแกรม AmiPro โปรแกรม WordPerfect
ตัวอย่าง โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมโลตัส 123 โปรแกรม QuatroPro โปรแกรม Excel
ตัวอย่าง โปรแกรมฐานข้อมูล โปรแกรม dBASE โปรแกรม FoxBASE โปรแกรม FoxPRO โปรแกรม Access
โปรแกรมนำเสนอผลงาน PowerPoint โปรแกรมกราฟิก PhotoShop CorelDraw PaintShop โปรแกรมสร้างบทเรียนโปรแกรม AuthorWare Toolbook Director โปรแกรมช่วยสอน ฯลฯ โปรแกรมเบราเซอร์สำหรับค้นหาข้อมูล Opera Nescape Internet Explorer
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ถูกออกแบบขึ้นมาภายใต้ข้อกำหนดของผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม เฉพาะราย สามารถใช้ได้เฉพาะงาน ไม่สามารถดัดแปลงไปใช้กับงานอื่น นอกเหนือจากที่ออกแบบไว้
ตัวอย่าง โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมระบบบัญชีของธนาคารต่างๆ โปรแกรมบริหารสถานศึกษา School Admin โปรแกรมบริหารสถานศึกษา ของ กรมสามัญ โปรแกรมจัดตารางสอน โปรแกรมวัดผล ฯลฯ