อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน
การจำแนกประเภท ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ
ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ คือ ทรัพยากรสารสนเทศอันดับ หนึ่งที่เผยแพร่ผลงานทาง วิทยาศาสตร์ ที่ได้จากการวิจัยหรือ ทดลอง หรือได้จากการอภิปรายกับ นักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัย โดยตรง เป็นเอกสารที่ไม่เคยได้รับ การตีพิมพ์มาก่อน แต่จะเป็น เอกสารที่เผยแพร่ผลงานเป็นครั้ง แรก
ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ ประเภท วารสารวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ วารสารวิทยาศาสตร์เพื่อการ อุตสาหกรรม รายงานทางเทคนิค
ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ รายงานทางเทคนิค รายงานทางเทคนิคที่เป็นผลจาก การวิจัย รายงานทางเทคนิคที่เป็นผลจาก การวิจัยให้กับบริษัทอุตสาหกรรม รายงานทางเทคนิคที่เป็นผลจาก การวิจัยโดยสถาบันการศึกษา ลักษณะสำคัญคือมีหมายเลข เอกสารกำกับ
ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ เอกสารสิทธิบัตร ประโยชน์ของสิทธิบัตร ด้านการผลิต ด้านการแก้ปัญหาทางเทคนิค ด้านการวิจัยและพัฒนา ด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ด้านการติดตามความเคลื่อนไหว ในบริษัทคู่แข่ง ด้านการติดตาม ประเมิน และ คาดคะเนความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี
ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ เอกสารสิทธิบัตร ส่วนประกอบของสิทธิบัตร หน้าแรกของสิทธิบัตร รูปของสิ่งประดิษฐ์ เนื้อเรื่องของสิทธิบัตรตอนแรก เนื้อเรื่องของสิทธิบัตรตอนหลัง
ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ เอกสารมาตรฐาน รายงานการประชุมทาง วิทยาศาสตร์ วิทยานิพนธ์
ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ ทรัพยากรอันดับสอง คือ สิ่งพิมพ์ หรือเอกสารที่นำเอาเรื่องราวจาก ทรัพยากรปฐมภูมิมาเรียบเรียงเข้า ไว้ด้วยกันเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่าย ต่อการค้นคว้า หรือเป็นสิ่งพิมพ์ที่ วิจารณ์การค้นคว้าหรือทดลองทาง วิทยาศาสตร์ หรือวิจารณ์ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
ทรัพยากรสารสนเทศทุติยภูมิ ประเภท วารสารปริทัศน์ ดรรชนีวารสารและวารสาร สาระสังเขป หนังสืออ้างอิง หนังสือวิชาการทั่วไป
ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ หนังสือวิชาการทั่วไป Textbooks Treatises Monographs
ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ คือ สิ่งพิมพ์หรือทรัพยากร สารสนเทศที่จะเป็นคู่มือ ช่วยค้นคว้างานปฐมภูมิและ ทุติยภูมิ ช่วยในการเข้าถึง สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ ประเภท สิ่งพิมพ์แนะนำวรรณกรรม บรรณานุกรม หนังสือชีวประวัติ นามานุกรม
Cycle of Scientific Literature