กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
การจัดการเงินกองทุนสวัสดิการชุมชน
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ผังแนวคิดการทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เทศบาลตำบลเชียงคำ คณะกรร มการ กองทุนฯ กระบวนการ ทำงานหลักการ มีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน หลักชัย ชาวเทศบาลตำบล.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ PowerPoint Template กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ http://mx.kkpho.go.th/nskps/ นายบุญเลิศ นิลละออง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหนองสองห้อง

PP Community ระดับชุมชน เดิม 40 บาท พื้นที่ที่มีกองทุน สสจ. สปสช. 40 > 45 บาท ประชาชนสมทบ 40 บาท รพ. 40 บาท สอ. อบต./เทศบาล สมทบ รายได้อื่นของกองทุน ขนาดเล็ก 20%>>30% ขนาดกลาง 30%>>40% ขนาดใหญ่/เทศบาล 50%>>50% เทศบาลเมือง/นคร 50%>60%

เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) หมวดที่ 1 สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของ หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ - เน้นการส่งเสริม, ป้องกันโรค, ฟื้นฟูสมรรถภาพ, การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ได้แก่ 1. กลุ่มแม่และเด็ก 2. กลุ่มผู้สูงอายุ 3. กลุ่มคนพิการ 4. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง 5. กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง

เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวด 2. เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรภาคประชาชน หรือ หน่วยงานอื่นในพื้นที่ (วัด โรงเรียน) เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค (กรณีมีความจำเป็นต้องซื้อครุภัณฑ์ (ครุภัณฑ์ราคาต่ำกวาเกณฑ์)ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท/โครงการ และครุภัณฑ์ดังกล่าวให้อยู่ในการดูแลของ องค์กรภาคประชาชน หรือองค์กรที่ได้รับการสนับสนุน)

เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวด 3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ของ - ศูนย์เด็กเล็ก - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพคนพิการ ไม่น้อยกว่า 15% ของงบประมาณปีนั้นๆ

เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวดที่ 4. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนฯ เช่น - ค่าตอบแทน คณะกรรมการ , อนุกรรมการ ในการประชุม - ค่าเบี้ยเลี้ยง (เบิกตามอัตราระเบียบของ อบต.) - ค่าวัสดุ - ค่าครุภัณฑ์ (ราคาไม่เกิน 20,000 บาท/หน่วย) ไม่เกิน 15% ของงบประมาณปีนั้นๆ (เดิม 10%)

เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวดที่ 5. - กรณีเกิดการระบาดของโรค เช่น เช่น ไข้เลือดออก, อหิวาต์ตกโรค เป็นต้น - ภัยพิบัติในพื้นที่ (เช่นน้ำท่วม) คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติใช้เงินสนับสนุนกิจกรรมแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ได้ตามความจำเป็น ที่เกี่ยวข้องทางด้านสาธารณสุข

คณะกรรมการบริหารกองทุน 1.ผู้บริหารสูงสุด ของ อบต. ณ ห้วงเวลานั้น ประธาน 2.ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน (มาจากข้อ 1,3ถึง9 คัดเลือกจากพื้นที) รองประธาน 3.สมาชิกสภา อบต.จำนวน 2 คน กรรมการ 4.ผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวน 5 คน กรรมการ 5.ผู้แทน อสม. จำนวน 2 คน กรรมการ 6. ผอ.รพ.สต. กรรมการ 7.ผู้ประสานงาน หลักประกันสุขภาพ ปชช. กรรมการ 8.ปลัด หรือผู้ที่ประธานมอบหมาย กรรมการและเลขานุการ 9. ผอ./หน.กอง สาธารณสุข/สิ่งแวดล้อม กรรมการและ ผช.เลขา มีอายุในวาระคราวละ 4 ปี (เดิม 2 ปี) ผอ.โรงพยาบาลชุมชนและสาธารณสุขอำเภอ (หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย) เป็นที่ปรึกษา

หน้าที่คณะกรรมการ 1. พิจารณาอนุมัติแผนงาน โครงการ 2. ออกระเบียบว่าด้วยค่าตอบแทนของ - อนุกรรมการ (ไม่เกิน 300 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 600 บาท/เดือน) - คณะทำงาน (ไม่เกิน 200 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 400 บาท/เดือน) 3. ควบคุม กำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชี

หน้าที่คณะกรรมการ 4. กำกับ ดูแลให้หน่วยงาน หรือองค์กรที่ได้รับอนุมัติ ให้ดำเนินงานไปตามแผนงานโครงการ ลุล่วงไปด้วยดี 5. สนับสนุน ให้ ปชช.ทุกกลุ่ม ได้ความทั่วถึงด้านสาธารณสุข ทั้งที่บ้าน ชุมชน ที่ รพ.สต. 6. แนะนำการจัดทำข้อมูล และแผนดำเนินงาน ด้านสาธารณสุข แก่ หน่วยงานสาธารณสุข วัด โรงเรียน และ อบต.

หน้าที่คณะกรรมการ 7. ให้ความเห็นชอบ การจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน, รายงานรับ-จ่ายเงิน และเงินคงเหลือ เมื่อสิ้นปี ให้ สปสช. 8. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อดำเนินงานที่เกี่ยวข้องตามความจำเป็น และให้ได้รับค่าตอบแทนฯ ตามระเบียบของคณะกรรมการกองทุน (ข้อ 2)