กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ PowerPoint Template กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ http://mx.kkpho.go.th/nskps/ นายบุญเลิศ นิลละออง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหนองสองห้อง
PP Community ระดับชุมชน เดิม 40 บาท พื้นที่ที่มีกองทุน สสจ. สปสช. 40 > 45 บาท ประชาชนสมทบ 40 บาท รพ. 40 บาท สอ. อบต./เทศบาล สมทบ รายได้อื่นของกองทุน ขนาดเล็ก 20%>>30% ขนาดกลาง 30%>>40% ขนาดใหญ่/เทศบาล 50%>>50% เทศบาลเมือง/นคร 50%>60%
เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) หมวดที่ 1 สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของ หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ - เน้นการส่งเสริม, ป้องกันโรค, ฟื้นฟูสมรรถภาพ, การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ได้แก่ 1. กลุ่มแม่และเด็ก 2. กลุ่มผู้สูงอายุ 3. กลุ่มคนพิการ 4. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง 5. กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง
เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวด 2. เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรภาคประชาชน หรือ หน่วยงานอื่นในพื้นที่ (วัด โรงเรียน) เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค (กรณีมีความจำเป็นต้องซื้อครุภัณฑ์ (ครุภัณฑ์ราคาต่ำกวาเกณฑ์)ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท/โครงการ และครุภัณฑ์ดังกล่าวให้อยู่ในการดูแลของ องค์กรภาคประชาชน หรือองค์กรที่ได้รับการสนับสนุน)
เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวด 3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ของ - ศูนย์เด็กเล็ก - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพคนพิการ ไม่น้อยกว่า 15% ของงบประมาณปีนั้นๆ
เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวดที่ 4. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนฯ เช่น - ค่าตอบแทน คณะกรรมการ , อนุกรรมการ ในการประชุม - ค่าเบี้ยเลี้ยง (เบิกตามอัตราระเบียบของ อบต.) - ค่าวัสดุ - ค่าครุภัณฑ์ (ราคาไม่เกิน 20,000 บาท/หน่วย) ไม่เกิน 15% ของงบประมาณปีนั้นๆ (เดิม 10%)
เงินกองทุนฯ ให้ใช้จ่าย ( 5 หมวด) (ต่อ) หมวดที่ 5. - กรณีเกิดการระบาดของโรค เช่น เช่น ไข้เลือดออก, อหิวาต์ตกโรค เป็นต้น - ภัยพิบัติในพื้นที่ (เช่นน้ำท่วม) คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติใช้เงินสนับสนุนกิจกรรมแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ได้ตามความจำเป็น ที่เกี่ยวข้องทางด้านสาธารณสุข
คณะกรรมการบริหารกองทุน 1.ผู้บริหารสูงสุด ของ อบต. ณ ห้วงเวลานั้น ประธาน 2.ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน (มาจากข้อ 1,3ถึง9 คัดเลือกจากพื้นที) รองประธาน 3.สมาชิกสภา อบต.จำนวน 2 คน กรรมการ 4.ผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวน 5 คน กรรมการ 5.ผู้แทน อสม. จำนวน 2 คน กรรมการ 6. ผอ.รพ.สต. กรรมการ 7.ผู้ประสานงาน หลักประกันสุขภาพ ปชช. กรรมการ 8.ปลัด หรือผู้ที่ประธานมอบหมาย กรรมการและเลขานุการ 9. ผอ./หน.กอง สาธารณสุข/สิ่งแวดล้อม กรรมการและ ผช.เลขา มีอายุในวาระคราวละ 4 ปี (เดิม 2 ปี) ผอ.โรงพยาบาลชุมชนและสาธารณสุขอำเภอ (หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย) เป็นที่ปรึกษา
หน้าที่คณะกรรมการ 1. พิจารณาอนุมัติแผนงาน โครงการ 2. ออกระเบียบว่าด้วยค่าตอบแทนของ - อนุกรรมการ (ไม่เกิน 300 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 600 บาท/เดือน) - คณะทำงาน (ไม่เกิน 200 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 400 บาท/เดือน) 3. ควบคุม กำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชี
หน้าที่คณะกรรมการ 4. กำกับ ดูแลให้หน่วยงาน หรือองค์กรที่ได้รับอนุมัติ ให้ดำเนินงานไปตามแผนงานโครงการ ลุล่วงไปด้วยดี 5. สนับสนุน ให้ ปชช.ทุกกลุ่ม ได้ความทั่วถึงด้านสาธารณสุข ทั้งที่บ้าน ชุมชน ที่ รพ.สต. 6. แนะนำการจัดทำข้อมูล และแผนดำเนินงาน ด้านสาธารณสุข แก่ หน่วยงานสาธารณสุข วัด โรงเรียน และ อบต.
หน้าที่คณะกรรมการ 7. ให้ความเห็นชอบ การจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน, รายงานรับ-จ่ายเงิน และเงินคงเหลือ เมื่อสิ้นปี ให้ สปสช. 8. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อดำเนินงานที่เกี่ยวข้องตามความจำเป็น และให้ได้รับค่าตอบแทนฯ ตามระเบียบของคณะกรรมการกองทุน (ข้อ 2)