กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
Advertisements

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
วิชาว่าความและ การถามพยาน
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
การตั้งเบิกเพื่อจ่ายบุคคลภายนอก-อ้างอิงใบสั่งซื้อ/สัญญา
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
ทำอย่างไร.... ไม่ขัดระเบียบ หลักเกณฑ์ รางวัลพระราชทาน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
ประภาศ คงเอียด ผู้พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง
ขั้นตอนการดำเนินคดี การสืบสวน การวางแผนปฏิบัติการ การตรวจค้น/จับกุม
การตรวจสอบของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
หนี้ขาดอายุความ 1.ระเบียบปฏิบัติ มีระเบียบรองรับแล้ว
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยบัตรประจำตัวกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
สัมมนาทนายความ 9 มกราคม 2551
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การบริหารเวชภัณฑ์.
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ”
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
บทที่ ๒ ผลแห่งหนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์
กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้ (Law of Obligations)
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
การขอรับเงินช่วยเหลือกรณีบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จำนวน 5 แหล่ง
การตรวจเงิน รายงานการเงินที่หัวหน้าหน่วยงานคลัง จัดทำเสนอปลัด อปท. เพื่อนำเสนอผู้บริหารท้องถิ่น การรายงานข้อมูลทางด้านการเงินการคลัง ประกาศงบแสดงฐานะการเงิน.
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
คำถาม 1. เด็กสาว อายุ 15 ขับรถสองแถวผิด กฎหมายใด 2. ค่าทดแทนวันละ บาท ไม่เกิน 20 วัน สำหรับคนไข้ ในของโรงพยาบาล ตาม พ. ร. บ. จ่ายอย่างไร 3. รถในพื้นที่น้ำท่วม.
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดให้มีการประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายแก่ผู้ได้รับความเสียหาย จากภัยอันเกิดจากการประกอบกิจการควบคุมประเภทที่
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม Story of stuff
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ข้อพิจารณา ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
การถอนเงินคืนรายรับ ถอนคืนเงินรายรับ ได้ในกรณีดังต่อไปนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ สำนักความรับผิดทางแพ่ง

ความเป็นมา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ระเบียบ ว่าด้วย ความรับผิดชอบของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ. 2503 ปัจจุบัน เดิม

พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 คำนิยามที่สำคัญ เจ้าหน้าที่ หน่วยงานของรัฐ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ การทำละเมิดต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) การทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

การทำละเมิดต่อเอกชน/ บุคคลภายนอก

การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ กรณีเจ้าหน้าที่กระทำนอกเหนือการปฏิบัติหน้าที่ หน่วยงานของรัฐรับผิด/ถูกฟ้อง แทนเจ้าหน้าที่ ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.5) ความรับผิด ทางละเมิดของหน่วยงาน ของรัฐ หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด /ถูกฟ้อง (ม.6)

กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-รัฐเสียหาย 1 รถราชการเสียหาย/สูญหาย รถคว่ำ(ไม่มีคู่กรณี)/ รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม ทรัพย์สินราชการ ชำรุดเสียหาย/ถูกโจรกรรม ทุจริตยักยอกเงินของทางราชการ เพลิงไหม้ การจัดซื้อ/จัดจ้าง เบิกจ่ายเงินราชการไม่ถูกต้องตาม กม./ระเบียบ คดีขาดอายุความ : สัญญา/สิทธิเรียกร้อง 2 3 4 5 6 7

กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-บุคคลภายนอกเสียหาย รถยนต์เฉี่ยวชน/เกิดอุบัติเหตุ รถยนต์บุคคลภายนอก เสียหาย บุคคลภายนอกเสียหาย (บาดเจ็บ/ตาย) การรักษาพยาบาล เช่น แพ้ยา จ่ายยาให้คนไข้ผิดคน ให้เลือดคนไข้ผิดกลุ่มเลือด แพทย์ทำหมันโดยไม่บอกคนไข้

ตัวอย่างการละเมิดที่มิใช่เป็นการปฏิบัติหน้าที่ 1. นำรถราชการไปใช้ส่วนตัว แล้ว - รถคว่ำ (ไม่มีคู่กรณี)/รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม - รถชนบุคคลภายนอก ตาย/บาดเจ็บ 2.นำทรัพย์สินราชการไปใช้ส่วนตัวแล้ว - ชำรุดเสียหาย/สูญหาย - ถูกโจรกรรม - ลักทรัพย์สินทางราชการ 3. การรักษาพยาบาล ที่ทำส่วนตัว

การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ) ฟ้องเจ้าหน้าที่ / หน่วยงานของรัฐ ฟ้องผิด ฟ้องใหม่ได้ ภายใน 6 เดือน อายุความการใช้สิทธิ 1 ปี / 10 ปี (ป.พ.พ. ม.448) สิทธิการดำเนินคดีของผู้เสียหาย Company Logo

การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ) การร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ผู้เสียหาย หน่วยงานของรัฐ มาตรา 5 ออกใบรับคำขอเป็นหลักฐาน พิจารณาภายใน 180 วัน ขยายไม่เกิน 180 วัน (รายงาน ร.ม.ต.) Company Logo

การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ) ประมาท 1. เจ้าหน้าที่ กระทำโดยจงใจ/ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.8 วรรค 1) 2. คำนึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทำ และความเป็นธรรม (ม.8 วรรค 2) สิทธิไล่เบี้ย ของหน่วยงานของรัฐ 3. หักส่วนความเสียหาย (ม.8 วรรค 3) 4. ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ (ม.8 วรรค 4) จงใจ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง Company Logo

การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา “ประมาท” การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา 1 2 แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ 3 และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ Company Logo

“ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง” มีลักษณะไปในทางที่บุคคลนั้น ได้กระทำ ไปโดยขาดความระมัดระวัง 1 2 ที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก เช่น พึงคาดเห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ หรือ หากระมัดระวังสักเล็กน้อย ก็คงคาดเห็น การอันอาจเกิดความเสียหายเช่นนั้น (ที่ นร 0601/87 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2540) ตัวอย่าง Company Logo

รูปถ่ายรถตู้พยาบาลและรถคู่กรณี ด้านหน้ารถยนต์ตู้พยาบาล รถยนต์คู่กรณี ด้านหลังรถยนต์ตู้พยาบาล

แผนที่เกิดเหตุ รถตู้พยาบาล รถคู่กรณี

รูปถ่ายสถานที่เกิดเหตุ